Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร (ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร…
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบจากนักการศึกษา
Ralph W.Tyler
กำหนดเนื้อหา
วัตถุประสงค์
แหล่งข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม
กลั่นกรองโดยยืดหลักปรัชญา และจิตวิทยา
จุดประสงค์หลักสูตร
เลือกประสบการณ์การเรียนรู้
จัดการประสบการณ์การเรียนรู้
การประเมิน
John G.Saylor & Willium M.Alexander
เป้าหมายและวัตถุประสงค์
การออกแบบหลักสูตร
การใช้หลักสูตร
การประเมินผลหลักสูตร
สงัด อุทรานันท์
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การคัดเลือกและจัดเนื้อหาสาระ
การกำหนดมาตรการวัดและประเมินผล
การนำหลักสูตรไปใช้
การประเมินผลการใช้หลักสูตร
การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
Malcolm Skilbeck
วิเคราะห์สถานการณ์
การกำหนดวัตถุประสงค์
ออกแบบการจัดการเรียนการสอน
การตีความ และการนำหลักสูตรไปใช้
ประเมินผลการเรียนรู้และการประเมินหลักสูตร
Hilda Taba
การวินิจฉัยความต้องการจำเป็น
การกำหนดวัตถุประสงค์
การคัดเลือกเนื้อหาสาระ
การจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระ
การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ธำรง บัวศรี
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การกำหนดรูปแบบและโครงสร้างของหลักสูตร
การกำหนดจุดประสงค์รายวิชา
การเลือกเนื้อหา
การกำหนดจุดประงสงค์การเรียนรู้
การกำหนดประสบการณ์การเรียนรู้
การกำยุทธศาสตร์การเรียนการสอน
การประเมินผลการเรียนรู้
การจัดทำวัสดุหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน
วิชัย วงษ์ใหญ่
ระบบร่างหลักสูตร
สิ่งกำหนดหลักสูตร
รูปแบบหลักสูตร
การตรวจสอบหลักสูตร
การปรับแก้หลักสูตรก่อนนำไปใช้
ระบบการใช้หลักสูตร
การขออนุมัติหลักสูตร
การวางแผนการใช้หลักสูตร
ขั้นดำเนินการใช้หลักสูตรหรือบริหารหลักสูตร
ระบบการประเมินหลักสูตร
การวางแผนการประเมินหลักสูตร
การเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การรายงานข้อมูล
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การกำหนดเนื้อหาสาระ
การกำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้
การกำหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้
การนำหลักสูตรไปทดลองใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
การประเมินผลการใช้หลักสูตร
การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตรที่มีอยู่ให้ดีขึ้น หรือเหมาะสมกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป
การสร้างหลักสูตรใหม่ โดยการวางแผน ร่าง ออกแบบ ซึ่งไม่มีพื้นฐานจากหลักสูตรเดิม
นิยามจากนักการศึกษา
Taba (พ.ศ.1962)
การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรอันเดิมให้ได้ผลดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาวิชา การเรียนการสอน การวัดประเมินผล และอื่นๆ เพื่อให้บรรลุถึงจุดหมายอันใหม่ที่วางไว้
Good (พ.ศ.1973)
การปรับปรุงหลักสูตร เพื่อให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบโรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งการประเมินผล
เปลี่ยนแปลงหลักสูตร คือการแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิม เป็นการสร้างโอกาสทางการเรียนขึ้นใหม่
Saylor & Alexander (พ.ศ.1974)
การจัดทำหลักสูตรเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือเป็นการจัดทำหลักสูตรโดยไม่มีหลักสูตรเดิมอยู่ก่อน อาจรวมถึงการสร้างเอกสารอื่นๆ สำหรับนักเรียนด้วย
วิชัย วงษ์ใหญ่ (พ.ศ.2525)
การวางโครงการเพื่อให้นักเรียนบรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
สงัด อุทรานันท์ (พ.ศ.2532)
การทำหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือสมบูรณ์ขึ้น
การสร้างหลักสูตรขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีหลักสูตรเดิมเป็นพื้นฐาน
อัญชุลี สารรัตนะ (พ.ศ.2550)
การวางแผนเพื่อร่างหลักสูตรและประเมินหลักสูตร มุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
ทัศนีย์ บุญเดิม (พ.ศ.2551)
การสร้าง การร่าง หรือวางแผนหลักสูตร
การปรับปรุงหรือทบทวนหลักสูตร ที่มีอยู่ก่อนแล้วให้ดีขึ้น