Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ConTesting บทที่11 :explode:คุณสมบัติด้านกำลังอื่นๆของคอนกรีต…
ConTesting บทที่11 :explode:คุณสมบัติด้านกำลังอื่นๆของคอนกรีต
กำลังดึง(Tensile Strength)
กำลังดึงจะมีค่าประมาณ 10 % ของกำลังอัดประลัย
วิธีวัดค่าแรงดึงในคอนกรีต ทำได้ 3 วิธี คือ
-Direct Tensile Test(ไม่นิยมเพราะข้อเสียเยอะ)
-Flexural Strength Test
หาค่าได้ตามสมการ
fb=
PL/bdกำลัง2
fb= PL/bdกำลัง2
fb = โมดูลัสการแตกร้าว (กก./ตร.ซม.) P = น้ำหนักกดสูงสุด (กก.) L = ช่วงความยาวคาน (ซม.) b,d = ความกว้าง, ความลึกของคาน (ซม.)
-Splitting Test
ใช้ทดสอบรูปทรงกระบอก วางให้แกนตามยาวอยู่ในแนวนอนบนเครื่องทดสอบแรงอัด ก้อนตัวอย่างจะแตกในแนวดิ่งตามเส้นผ่าศูนย์กลางจึงสามารถคำนวณกำลังต้านทานแรงดึงบนระนาบแตกร้ายนี้ได้ ตามสมการ
fห้อยs = 2P/พายdL = fห้อยs = Splitting Strength P = น้ำหนักกดสูงสุด (กก.) L = ความยาวของก้อนตัวอย่างทรงกระบอก (ซม.) d = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของก้อนตัวอย่าง (ซม.)
การทดสอบนี้
ให้ค่าสม่ำเสมอกว่า
2 วิธีข้างบน
แต่ค่าที่จะได้จะสูงขึ้นกว่าแรงดึงจริงของคอนกรีต ประมาณ 15 %
ปัจจัยที่มีผลต่อกำลังดึง
1) วิธีการทดสอบ
Flexural Strength ให้ค่าสูงสุด
Direct Tensile ให้ค่าต่ำสุด
2) มวลรวม
Flexural S มวลรวมที่เป็นเหลี่ยมมุม จะส่งผลให้ค่าสูงกว่ามวลรวมที่กลมๆ
3) ความชื้น
Flexural S. ทดสอบในขณะก้อนตัวอย่างแห้งจะให้ค่าต่ำกว่าก้อนตัวอย่างที่อยู่ในสภาพเปียกชื้น
ความสัมพันธ์ระหว่างกำลังดึงและกำลังอัด
สรุปเลยคือ สมมุตเพิ่มกำลังอัดเป็น 10 เท่าแต่กำลังดึงก็ยังเท่าเดิมไม่ได้เพิ่มตามกำลังอัด
กำลังเฉือน (Shear Strength)
แรงเฉือน มีค่าประมาณ 15 ถึง 25% ของกำลังอัดประลัยของคอนกรีต
แรงยึดเหนนี่ยวต่อเหล็กเสริม (Bond Strength)
คือการที่ตอนทำคอนกรีตมวลเบาแล้วต้องงอเหล็กตอนวางเหล็กเสริม
การทดสอบหาแรงยึดเหนี่ยวกับเหล็กเสริม คือ
ดึงเหล็กเสริมขนาด 19 มม.
ที่หล่อยู่ในก้อนคอนกรีต
รูปลูกบาศก์ขนาด 22.5 x 22.5 x 22.5 ซม.
วัดระยะเลื่อนไถลในขณะที่ออกแรงดึงท่อนเหล็กนั้น แล้วนำมาเขียนกราฟระหว่างกำลังยึดเหนี่ยวกับระยะเลื่อนไถล ทดลองกระทำจนกว่าแรงที่ใช้ดึงท่อนเหล็กมีค่า = กำลังจุดคลากของเหล็กนั้นหรือเมื่อคอนกรีตเริ่มชำรุดแยกออกจากกัน
หรือจนกระทั่งระยะเลื่อนไถลมีค่ามากกว่า 2.5 มม.
กำลังกระแทก (impact Strength)
ความส้ัมพันธ์ระหว่างกำลังกระแทกกับกำลังอัดขึ้นอยู่กับ
1) ชนิดของมวลรวมหยาบ
-มวลรวมที่มีค่าโมดูลัสยืดหยุ่นต่ำและมีค่า Poisson Ratio ต่ำ จะสามารถรับแรงกระแทกได้ดี
2)ความชื้นของคอนกรีต
-คอนกรีตที่ขื้นจะให้กำลังกระแทกต่ำกว่าคอนกรีตที่แห้ง
3)ลักษณะของมวลรวม
-หินยิ่งเล็ก จะปรับปรุงคุณสมบัติด้านการับน้ำหนักกระแทกได้ดี
4)ปริมาณปูนซีเมนต์ -เพื่อให้ได้กำลังกระแทกที่เหมาะสม
ปริมาณซีเมนต์ที่ใช้ควรไม่เกิน 400 กก./ลบ.ม.
การต้านแรงเสียดสี(ใช้กับพวกงานถนน)
1)
อัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์
2)การต้านทานจะเพิ่มขึ้นเมื่อใช้คอนกรีตที่มีอัตราส่วนของมวลรวมต่อปูนซีเมนต์สูง
3)การต้านทานการเสียดทานจะต่ำมากในคอนกรีตมวลเบา
4)การต้านทานจะเพิ่มขึ้นถ้าการเยิ้มเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย
5)การต้านทานจะเพิ่มถ้าเลื่อนเลาการแต่งผิวหน้าคอนกรีตออกไปเล็กน้อย
6)
ประการที่สำคัญที่สุด
คือ การบ่มคอนกรีตอย่างถูกต้องและเพียงพอ จะช่วยเพิ่มการต้านทานการเสียดทานอย่างมาก