Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สถาบันทางการเมืองไทย (2. สถาบันนิติบัญญัติ (บทบาทหน้าที่สถาบันนิติ…
บทที่ 3 สถาบันทางการเมืองไทย
2. สถาบันนิติบัญญัติ
สภาผู้แทนราษฎร
ส.ส.มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
ส.ส. มาจากการแต่งตั้งโดยรัฐบาล
หน้าที่สภาผู้แทนราษฎร
การอนุมัติร่างกฎหมาย และ ควบคุมการบริหารประเทศของคณะรัฐมนตรี
องค์ประกอบของสถาบันนิติบัญญัติ
ระบบสภาเดียว
ลักษณะสภาเดียวมาจากการแต่งตั้งสมาชิกทั้งหมด
ลักษณะสภาเดียวมาจากสมาชิกสองประเภท แต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี
จากการเลือกเลือกตั้ง
จากการแต่งตั้ง
ระบบสองสภา
สมาชิกมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเรียกว่า สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกมาจากแต่งตั้งหรือเลือกตั้งทางอ้อม เรียกว่า วุฒิสภา
บทบาทหน้าที่สถาบันนิติบัญญัติ
บทบาทในด้านการบัญญัติกฎหมาย (Legislative Function)
บทบาทในการควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล
บทบาทในการสร้างความชอบธรรม (Legitimacy Function)
บทบาทในการเป็นตัวแทนและปกป้องผลประโยชน์ของประชาชน
3.สถาบันฝ่ายบริหาร
คณะรัฐมนตรี/คณะรัฐบาล
บทบาทหน้าที่ของคณะรัฐมนตรี/คณะรัฐบาล
วางระเบียบข้อบังคับให้กระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติ
พิจารณาและลงมติเรื่องต่างๆ ที่กระทรวง ทบวง กรม เสนอมา
ทำหน้าที่ประสานงานระหว่าง กระทรวง ทบวง กรม
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ใช้อำนาจบริหารในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์
มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน
บริหารราชการแผ่นดินตามนโยบายที่ได้พูดไว้ต่อสภาผู้แทนราษฎร
หน้าที่ของฝ่ายบริหารภายใต้การชี้นำของข้าราชการประจำ
การกำหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน
วาระการดำรงตำแหน่ง
แบบตายตัว
แบบไม่ตายตัว
การเข้าสู่ตำแหน่ง
โดยการเลือกตั้งโดยอ้อม
โดยการแต่งตั้ง
โดยการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
โดยการยึดอำนาจ
โดยการสืบสายโลหิต
4.สถาบันฝ่ายตุลาการ
หน้าที่ของสถาบันตุลาการ
หน้าที่ในการให้ความยุติธรรมโดยการใช้กฏหมาย
เป็นที่พึ่งของประชาชนเมื่อเกิดการขัดแย้งหรือการกระทำผิดขึ้น
การเข้าสู่ตำแหน่ง
ระดับรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม
ได้รับการแต่งตั้งโดยผู้มีอำนาจสูงสุดของฝ่ายบริหาร
กรณีตำแหน่งผู้พิพากษา
การแต่งตั้ง
การเลือกตั้ง
วาระการดำรงตำแหน่ง
การพ้นจากตำแหน่งผู้พิพากษา
การตาย
ลาออก
การกระทำผิด จรรยาบรรณ
ตำแหน่งผู้พิพากษา มีวาระหรือไม่มีก็ได้
1.รัฐธรรมนูญ
ความหมาย
กฎหมายสูงสุดที่วางกฏเกณฑ์เกี่ยวกับรูปแบบโครงสร้างของรัฐบาล
ลักษณะ
เป็นกฏหมายพื้นฐาน
เปลี่ยนแปลงได้ยากกว่ากฎหมายทั่วไป
มีผลบังคับใช้เหนือกฎหมายธรรมดา
ประเภท
แบบเป็นลายลักษณ์อักษร
แบบไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
5.สื่อมวลชน
หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ ภาพยนต์
บทบาทที่สำคัญ
สะท้อนความคิดเห็นของมวลชน
เป็นกระบอกเสียงให้กับรัฐบาล