Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sensory system and perception (การรับรู้ (องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้…
Sensory system and perception
ตัวรับความรู้สึก
ประเภทของตัวรับความรู้สึก
แบ่งตามตำแหน่งของตัวรับ
ตัวรับที่อยู่ในอวัยวะภายใน
ตัวรับที่อยู่ลึกลงไปในร่างกาย
ตัวรับที่ผิวนอกร่างกาย
ตัวรับความรู้สึกจากสิ่งกระตุ้นที่อยู่ไกล
แบ่งตามชนิดของตัวกระตุ้น
รับการกระตุ้นจากสิ่งที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
รับการกระตุ้นจากสารเคมี
รับการกระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
รับการกระตุ้นจากพลังงานแสง
รับการกระตุ้นจากพลังงานกล
ระบบรับความรู้สึก
ระบบรับความรู้สึกผิวกาย
ประเภทของการรับสัมผัสผิวกาย
การรับสัมผัส
Pacinian corpuscle
Merkel's disk
Meissners's corpuscle
Ruffini ending Meissner's
การรับรู้อุณหภูมิ
Warmth
Cold
Adequate stimuli
ความผิดปกติของอุณหภูมิร่างกาย
ไข้
โรคลมร้อน
การเจ็บปวด
ตัวรับความรู้สึกเจ็บปวด
Nociceptor
Bare nerve ending
Chemoreceptor
ตัวกระตุ้นความเจ็บปวด
Thermal
Chemical
Mechanical stimuli
Pain Theshold
ระบบรับความรู้สึกพิเศษ
ระบบการรับรส
Taste modalities
ขม
Cation (ion+) ของ Organic salt หรือ สาร Organic compound บางชนิด
รับรู้ได้ดีที่โคนลิ้น
หวาน
Organic substance
รับรู้ได้ดีที่ปลายลิ้น
เค็ม
Na+
รับรู้ได้ดีที่ปลายและขอบลิ้น
เปรี้ยว
H+
รับรู้ได้ดีที่ข้างลิ้น
ตุ่มรับรส
เซลล์รับรส
เซลล์ค้ำจุน
ระบบการได้ยินและการทรงตัว
ระบบการได้ยิน
ความผิดปกติในการได้ยินเสียง
Conduction deafness
Nerve deafness
ระบบการทรงตัว
Hair cell
หน้าที่ของท่อครึ่งวงกลม
รับรู้การเคลื่อนไหวแบบหมุน ของส่วนศีรษะ อยู่ในหูทั้ง 2 ข้าง ทำงานร่วมกันเพื่อส่งข้อมูลไปสู่สมอง
หน้าที่ของยูตริเคิลและแซคตูล
รับรู้การเคลื่อนไหว และการหยุดนิ่งของศีรษะในแนวตรง
Vestibular system
ส่งสัญญาณประสาทไปที่ Cerebellum โดยเฉพาะที่ Flocculonodular lobe
ไปตาม Cranial nerve III,IV และ VI เพื่อการเคลื่อนไหวของลูกตา
Vestibulospinal tract
ระบบการมองเห็น
โครงสร้างและส่วนประกอบของลูกตา
Middle coat
เยื่อหุ้มลูกตาที่อยู่ระหว่างชั้นเรตินากับชั้นสเคลอรา(Choroid)
Ciliary body
ม่านตา (Iris)
Internal coat
Retina
Rod Cell
Cone Cell
Optic disc
Melanin
External coat (Fibrous tunic)
ด้านหน้าเป็นกระจกตา (Anterior cornea)
ด้านหลังและรอบๆจะเป็นตาขาว (Sclera)
กลไกการมองเห็น
ผลของแสงต่อลูกตา
ความยาวคลื่น 400-770 นาโนเมตร
ตัวรับความรู้สึกของระบบการมองเห็น
Photoreceptor cell
Rod Cell
Cone cell
การปรับระยะภาพ
ตาสามารถ Focus ได้เหมือน camera ต้องอาศัยขนาดเลนส์ ปรับขนาดภาพโดยหดและขยายตัวของ Lens capsule
สายตาผิดปกติ
สายตาสั้น (Nearsightedness or Myopia)
อาการ
สาเหตุ
การแก้ไข
สายตายาวโดยกำเนิด (Farsightness or Heperopia)
อาการ
การแก้ไข
สาเหตุ
สายตาเอียง (Astigmatism)
อาการ
การแก้ไข
สาเหตุ
สายตาไม่เท่ากัน (Anisometropia)
สายตาวัยชรา (Presbyopia)
สาเหตุ
อาการ
การแก้ไข
ระบบรับกลิ่น
ตัวรับความรู้สึก
Medial olfactory area
Lateral olfactory area
ความผิดปกติของการรับกลิ่น
อาจเกิดจากเส้นทางการรับกลิ่นถูกตัดขาดไป
มีการทำลาย Anterior commissure
การรับกลิ่นเสียไปทั้งหมด เรียกว่า Anomia
ภาวะ Hypogonadism
การรับรู้
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้
ประสบการณ์หรือความรู้เดิม
การแปลความหมายของสิ่งเร้าที่เราสัมผัส
ปัจจัยทางด้านสรีระ
ปัจจัยทางจิตวิทยา
ความระวังระไว
คุณภาพของจิตใจ ความเหนื่อยล้า หรือความแจ่มใสของจิตใจ
สติปัญญา
บุคลิกภาพ
ความตั้งใจ
ประสาทสัมผัส
สิ่งเร้า
อิทธิพลของสิ่งเร้าที่มีต่อการรับรู้
สิ่งเร้าภายนอก
ขนาดของสิ่งเร้า
การเกิดซ้ำซากของสิ่งเร้า
ความเข้มข้นหรือความหนักเบาของสิ่งเร้า
สี ความถี่ของเสียง ความแปลกใหม่ มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
การเคลื่อนไหวของสิ่งเร้า
ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้า
สิ่งเร้าภายใน
ความต้องการ
คุณค่าและความสนใจ
คุณลักษณะของสิ่งเร้า
สิ่งเร้าที่ไม่มีโครงสร้างหรือแบบแผน
สิ่งเร้ามีโครงสร้างหรือแบบแผน
กระบวนการรับรู้