Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ข้อวินิจฉัยการพยาบาล (เสี่ยงต่อการได้รับออกซิเจนไม่พอเนื่องจากความสามารถใ…
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับออกซิเจนไม่พอเนื่องจากความสามารถในการแลก
เปลี่ยนก๊าซลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data
:ผู้ป่วยบอกว่าต้องพ่นยาขยายหลอดลมวันละ 1 ครั้ง
Objective Data
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation ที่ right and left lower lobe
เคาะปอดได้ยินเสียง hyperresonance
วัดค่า O2 saturation
เสียงหายใจเบา
ลักษณะทรวงอกมีรูปร่าง barriel chest
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้ร่างกายของผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
อัตราการหายใจประมาณ 16-24ครั้งต่อนาที
ผู้ป่วยไม่เกิดอาการขาดออกซิเจน (cyanosis )
ค่า O2 sat = ประมาณ 88-92%
กิจกรรมการพยาบาล
ฝึกให้ผู้ป่วยบริหารการหายใจให้ถูกต้องด้วยการหายใจเข้าลึกลึกให้ท้องป่องแล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจออกอย่างช้าช้าจนหมดเพื่อลดการเกิด airway collapse และฝึกกล้ามเนื้อกระบังลมให้แข็งแรง
1.มือของผู้ฝึกวางอยู่ที่บริเวณชายโครงด้านหน้าเพื่อกระตุ้นและรับรู้การเคลื่อนไหวของทรวงอกและหน้าท้องที่เกิดขึ้น
2.ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกธรรมดา เบาๆ โดยไม่เกร็งหัวไหล่หรือทรวงอกให้สังเกตว่าขณะหายใจเข้าท้องป่องและขณะหายใจออกท้องยุบโดยทรวงอกไม่ขยับและผู้ป่วยรับรู้ถึงลมที่เข้าไปถึงชายปอด
3.หายใจผ่านทางรูจมูกเพื่อให้ลมหายใจอุ่นและชุ่มชื่น
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถออกกำลังกายได้มากขึ้นโดยเริ่มเดินในเวลาสั้นๆ 10 ถึง 15 นาทีแล้วค่อยๆเพิ่มเวลาจนถึง 30 ถึง 40 นาทีต่อวันถ้าผู้ป่วยสามารถทำได้อ่านเพิ่มแรงของการออกกำลังกายโดยการเดินให้เร็วขึ้นเพื่อช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้นจากการต้องนอนอยู่แต่ในบ้านมาเป็นผู้ที่สามารถทำกิจกรรมนอกบ้านได้บ้าง
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพของผู้ป่วย
ลักษณะการหายใจ
จัดท่านอนหงายศรีษะสูง
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอัตราการหายใจ 24 ครั้งต่อนาที
ผู้ป่วยไม่เกิดอาการขาดออกซิเจน(cyanosis )
มีค่า O2sat = ประมาณ 88-92%
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสใช้ยาพ่นไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากการมองเห็นลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
objective Data
ผู้ป่วยบอกว่าผู้ป่วยบอกว่าตาข้างขวาบอด
ผู้ป่วยบอกว่าบรรจุแคปซูลบรรจุแคปซูลยาใส่กระบอกพ่นยาได้ไม่ถนัด
Subjective Data
เวลาพ่นยาพบว่าผู้ป่วยอมปากกระบอกยาไม่สนิท
เวลาพ่นยาพบว่าเศษยาติดอยู่ที่กระบอกยาเป็นจำนวนมาก
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยพ่นยาได้ถูกต้อง
ขั้นเตรียมอุปกรณ์ยาสูดพ่น
หายใจออกอย่างปกติจนสุด
วางปากเครื่องพ่นยา (และ/หรืออุปกรณ์นำพายา) ที่ช่องปากและหุบปากให้สนิท
สูดยาเข้าทางปากให้ลึกที่สุด หรือประมาณ 3-5 วินาที
กลั้นหายใจให้นานที่สุด หรือประมาณ 5-10 วินาที
ผ่อนลมหายใจออกอย่างช้าๆ
ในกรณีที่ต้องพนยาครั้งที่ 2 ควรหางจากครั้งแรกอย่างน้อย 1 นาที
ปริมาณยาที่ติดอยู่ที่ปากกระบอกยาลดน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้วิธีการใช้ยาขยายหลอดลมแก่ญาติและผู้ป่วย
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาขยายหลอดลมที่ผู้ป่วยใช้
ขนาดและวิธีการใช้ยาขยายหลอดลม
วิธีการดูแลตนเองหลังพ่นยาขยายหลอดลม
วิธีการเก็บรักษายาขยายหลอดลม
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยพ่นยาได้ถูกต้อง
ปริมาณยาที่ติดอยู่ที่ปากกระบอกยาน้อยลงน้อยลง