Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 จลนศาสตร์เคมี (ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของปฏิกิริยา (อุณหภูมิ…
หน่วยที่ 6 จลนศาสตร์เคมี
ทฤษฎีของจลศาสตร์เคมี
ทฤษฎีการชน
อนุภาคของสารตั้งต้นต้องมาปะทะกัน
ทฤษฎีสภาวะทรานซิชัน
ดัดแปลงมาจากทฤษฎีการชน
การชนอย่างมีประสิทธิภาพของสารตั้งต้น ในลักษณะที่เหมาะสม
กฎอัตรา
กฏอัตราเชิงอนุพันธ์ (Differential rate law) คือ
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาและความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ปฏิกิริยาอันดับศูนย์
คือปฏิกิริยาชนิดนี้มีอัตราการเกิดคงที่เสมอ
ไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ครึ่งชีวิต
ค่าครึ่งชีวิต (half-life, t1/2)
ปฏิกิริยาลูกโซ่
ปฏิกิริยาที่เกิดต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คือ
ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา
สูตรความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาในรูปของสารต่างๆ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =ปริมาณของสารตั้งต้นที่
ลดลง/เวลา
= ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น / เวลา
อัตราเร็วเฉลี่ย
เริ่มต้น จนปฏิกิริยาเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
อิทธิพลของอุณหภูมิ
ลักษณะทั่วไป
อุณหภูมิมีผลโดยตรงต่อค่าคงที่อัตรา (k)
พลังงานกับการดำเนินไปของของปฏิกิริยา
พลังงานของปฏิกิริยามี 2 แบบ
1.ปฏิกิริยาดูดความร้อน
เพื่อใช้สลายพันธะในสารตั้งต้นมากกว่าที่คายออก
H1 > H2
ลักษะณะทั่วไป
เป็นพลังงานที่ดูดพลังงานเข้า
2.ปฏิกิริยาคายความร้อน
คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์
H1 < H2
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วของปฏิกิริยา
ความดัน
สถานะเป็นก๊าซ
เมื่อมีความดันมากปริมาตรก็ลดลง
อนุภาคของสารมีโอกาสชนกัน
มากขึ้นบ่อยขึ้นในพื้นที่ที่จำกัด
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
คุณสมบัติทั่วไป
สารเคมีที่ช่วยทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
ตัวเร่งจะช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นโดยช่วย
ปรับกลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสม
อุณหภูมิ
อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น
อัตราการเกิดปฏิกิริยา จะเพิ่มขึ้น
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของสารใน
ระบบจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้นและมีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น
ธรรมชาติของสาร
ปกติสารประกอบไอออนิกจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์ สารประกอบ
ไอออนิกจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
สารตั้งต้นมีความเข้มข้นมากจะเกิดเร็ว
ตัวถูกละลายมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้น
พื้นที่ผิวสัมผัส
สถานะเป็นของแข็ง
คือสารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากจะทำปฏิกิริยาได้เร็วขึ้นเนื่องจากสัมผัสกันมากขึ้น