Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุบัติเหตุทางตา
A Coggle Diagram about
การพยาบาล (
- จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 45 องศา
,
- ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาเพื่อลดอาการปวดและให้ผู้ป่วยสุขสบายขึ้น
,
- ไม่ปิดตาด้วยผ้าปิดตา (eye pad) เพื่อไม่ให้ผ้าปิดตาไปเสียดสีกับกระจกตาและไม่ให้เเกิดการสะสมของเชื้อโรค แต่ครอบตาด้วยฝาครอบตา (eye shield) เท่านั้นเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนและการขยี้ตา
,
- หยอดยาขยายรูม่านตาตามแผนการรักษาเพ่ือป้องกันม่านตาอักเสบ
,
- แนะนำไม่ให้มีการกดบริเวณตา ขยี้ตา หรือสั่งน้ำมูก และควรตรวจตาใต้เปลือกตาบนและล่าง เพื่อดูว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตา ซึ่งจะทำให้แผลถลอกไม่หาย
,
- หยอดยาสเตียรอยด์ เพื่อลดการอักเสบตามแผนการรักษา
,
- ให้คำแนะนำการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ ควรใส่แว่นตาที่ตัดแสงเมื่อมองแสงจ้าหรือแสงจากดวงอาทิตย์ ผู้ที่ทำงานเชื่อมโลหะต้องใส่แว่นป้องกันรังสีและป้องกันสิ่งแปลกปลอม กระเด็นเข้าตา
and
8.จากสารเคมีที่ตา (Chemical burns)
ควรล้างตาด้วยน้ำหรือของเหลวที่มีฤทธิ์เป็นกลางเช่น น้ำเกลือ เพื่อทำให้เกิดภาวะความเป็นกลาง ห้ามใช้สารละลายที่มีฤทธิ์ความเป็นกรดด่างตรงข้ามเพราะจะทำให้เกิดความเสียหายมากขึ้น),
พยาธิ เจ้ (
สารเคมี,
เยื่อบุตา (conjungtiva) อาจเกิดเส้นเลือดฉีกขาด เกิด subconjungtival haemorrhage จะเห็นเป็นสีแดงสด เพราะเลือดที่ซึมออกมา,
เปลือกตา(eye lid) เมื่อได้รับการกระทบกระแทกแรงๆ เส้นเลือดในชั้น areolar tissue อาจแตก ทำให้เลือดซึมออกมาใต้ผิวหนัง (hematoma) เปลือกตาจะบวมขึ้น อาจบวมมากจนตาปิด และมีสีเขียวคล้ำ ซึ่งเรียกว่า ecchymosis หรือ black-eye,
กระจกตาถลอก (cornael abrasion) เยื่อบุผิวบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บจะหายไป ทำให้ light reflex แสดงความขรุขระของกระจกตา เมื่อย้อมด้วยสารเรืองแสง จะติดสีเขียวภายใต้แสง cobalt blue and
ลูกตาแตก (ruptured globe) มักจะพบว่า ช่องหน้าลูกตาตีบหายไป มีการผิดรูปของม่านตา ม่านตาคาอยู่หรือโผล่ยื่นจากรอยแผล มีเลือดออกในช่องหน้าลูกตา ความดันตามักลดลง หากตาขาวฉีกขาดจะพบเลือดออกที่เยื่อบุตา เนื้อเยื่อคอลลอยด์ มีเลือดเข้าไปในน้ำวุ้นลูกตา จอประสาทตา),
การรักษา (
Cornea ,
Intraocular foreign body (ภายในลูกตา) and
Conjunctiva),
อาการตามสาเหตุ (
- อุบัติที่ทำให้ตาแตก
and
- อุบัติที่ไม่ทำให้ตาแตก
),
การวินิจฉัย (
การซักประวัติ อาการสำคัญตา and
การตรวจลานสายตา),
เมย์ สาเหตุ (
บาดแผลไม่แทงทะลุ (Non-penetrating injuries) and
บาดแผลแทงทะลุ (Penetrating injuries)) and
