Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแปรปรวนทางจิตหลังคลอด (Post partum depression (สาเหตุ (ท้องแรก,…
ภาวะแปรปรวนทางจิตหลังคลอด
Post partum Blue
อารมณ์เศร้าหลังคลอดที่เกิดจากการปรับตัวด้านอารมณ์ของมารดาต่อการเผชิญสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงระยะหลังคลอดที่ผิดปกติ แต่ไม่กระทบ กิจวัตรประจําวัน
สาเหตุ
ท้องแรก
คลอดนาน
เสียเลือด คลอดเจ็บปวด คลอดลำบาก
ความเครียดด้านการเปลี่ยนแปลงบทบาท
ท้องไม่พร้อม
วิตกกังวลสูง
เกิดในช่วง 4-5 วันหลังคลอดแต่ไม่เกิน 2 สัปดาห์หลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ
วิตกกังวล
ท้อแท้ ตื่นเต้น
เศร้า
สับสนอารมณ์
อารมณ์รุนแรง
อ่อนเพลีย
นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร
การพยาบาล
ให้ข้อมูลการเลี้ยงดูบุตร
ส่งเสริมครอบครัวช่วยดูแล
คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์
Post partum depression
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด จิตใจมีความซึมเศร้ารุนแรงคือรู้สึกรุนแรงกว่า อารมณ์เศร้าหลังคลอด
เกิดในระยะตลอด 1 ปีหลังคลอด มักเกิดประมาณ
4 สัปดาห์หลังคลอด ช่วงระยะแรก ปจดหรือช่วงหย่านม
สาเหตุ
ท้องแรก
มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
ขาดการประคับประคองจะญาติ
ขาดความพึงพอใจในตนเอง
ความเครียด
ประสบการณ์การคลอด
อาการและอาการแสดง
ท้อแท้สิ้นหวังมองโลกแง่ร้าย
หดหู่ ไร้ค่าไม่มี คนต้องการ
ซึมเศร้า ร้องไห้
นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร
ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจตนเอง ทำร้ายทารกหรือตนเอง
ระยะ
ระยะหนึ่ง วันที่ 3 ถึง 10 หลังคลอด อาการซึมเศร้า
ระยะ 2 ช่วง 1-3 เดือนหลังคลอด การปรับตัวต่อบทบาท
ระยะ 3 เกิดได้ในระยะ 1 ปีหลังคลอด ปรับตัวแล้ว แต่อารมณ์ยังไม่คงที่
การพยาบาล
ให้โอกาส หญิงหลังคลอดซักถาม
ดูแลมารดาหลังคลอดพักผ่อน
ให้ได้รับความสุขสบายด้านร่างกาย
อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจหลังคลอด
ดูแลช่วยเหลือให้กำลังใจ
สังเกตและดูแลอย่างใกล้ชิด
Post partum phychosis
โรคจิตหลังคลอด จะเกิดขึ้น จากอารมณ์รุนแรงต่อเนื่องจากภาวะอารมณ์เศร้า
และซึมเศร้าหลังคลอดจากการดูแลรักษาล่าช้าเกินไป
ปกติมักเกิดภายใน 3 เดือนแรกหลังคลอด
โดยมารดามีภาวะโรคจิตหลังคลอด
สาเหตุ
มารดามีประวัติโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น manic-depressive
เครียดการตั้งครรภ์
บุคลิกภาพแปรปรวน
ครอบครัวมีประวัติโรคทางจิตเวช
ฮอร์โมนในร่างกายเปลี่ยนแปลง
อาการและอาการแสดง
ยุ่งยากใจ
กระสับกระส่าย
นอนไม่หลับ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
สมาธิสั้น ตัดสินใจไม่ได้
หวาดระแวงประสาทหลอน
การรักษา
รักษาทางกายให้ยา
ทำจิตบำบัด
ปรับสิ่งแวดล้อมสนับสนุน
ทางสังคมครอบครัวแบ่งเบาภาระ
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจำวัน
ให้ความเป็นกันเอง
รับฟังให้ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเข้ากลุ่มจิตบำบัด
อธิบายสามีและญาติเข้าใจ
ได้รับยาตามแผนรักษา
แนะนำแหล่งให้การช่วยเหลือ