Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Elderly Pregancy (AMNIOCENTESIS การเจาะตรวจน้ำคร่ำ (คำแนะนำภายหลังรับการต…
Elderly Pregancy
AMNIOCENTESIS
การเจาะตรวจน้ำคร่ำ
หาความผิดปกติของโครโมโซมทารกก่อนคลอด
ใครควรได้รับการตรวจ
หญิงตั้งครรภ์ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปนับถึงวันกำหนดคลอด
หญิงตั้งครรภ์ที่เคยมีบุตรที่มีความผิดปกติของโครโมโซมในครรภ์ก่อน
หญิงตั้งครรภ์และสามีที่มีโคโมโซมผิดปกติ
คำแนะนำภายหลังรับการตรวจ
งดกิจกรรมหนัก
งดการมีเพศสัมพันธ์ ในช่วง 24 ชั่วโมงหลังการตรวจ
ถ้าปวดแผลบริเวณที่เจาะสามารถรับประทาน
เพื่อบรรเทาอาการปวดแผลได้
สามารถอาบน้ำได้ตามปกติ
อาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์
มีไข้
ปวดท้องมาก
มีน้ำเดิน
เลือดออกทางช่องคลอด
ผลต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติของจำนวนโครโมโซม
(Chromosome abnormality)
วามผิดปกติที่พบบ่อยที่สุดคือ autosomal trisomy สาเหตุเกิดจาก
การที่เซลล์ไข่แบ่งตัวค้างอยู่ในระยะ metaphase I ขณะอยู่ในครรภ์
ความผิดปกติของยีน
(Gene abnormalities)
มารดาอายุมากเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดออทิสซึม
ความผิดปกติแต่กำเนิด
(Congenital anomalies)
ดยเฉพาะ ความผิดปกติของหัวใจ ความผิดปกติอื่นๆที่อาจพบได้อีก
ได้แก่ esophageal atresia, hypospadias และ craniosynostosis
ผลต่อการตั้งครรภ์
ระยะก่อนการฝังตัว
(Pre-conception)
ภาวะมีบุตรยาก (infertility)
ช่วงต้นของการตั้งครรภ์
(Early pregnancy)
การแท้งบุตร (Miscarriage)
สาเหตุเกิดจากคุณภาพไข่ที่ลดลง และ
การเปลี่ยนแปลงของมดลูกและฮอร์โมนในร่างกาย
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
สาเหตุเชื่อว่าเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมที่ทำให้
เกิดรกผิดปกติ หรือการทำงานของท่อนำไข่ที่เสื่อมลง
ทำให้ไข่ที่ถูกผสมไม่สามารถเคลื่อนตัวไปฝังตัว
ในตำแหน่งที่เหมาะสมได้
ผลต่อมารดาในการตั้งครรภ์
ภาวะทุพพลภาพของมารดาและ
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
:explode:ภาวะความดันโลหิตสูง
ประเภท
Chonic HT with Superimposed preeclamsia/Eclamsia
: ภาวะ preeclamsia/Eclamsia ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่มีอาการ Chonic HT
Chonic HT : พบก่อน GA 20 wks
Preeclamsia
Mild : BP 140/90 mm.Hg
Protein UA 1+ - 2+
BP = 140/81 mm.Hg(327 ก.ย.61)
นัด 1 wk for ประเมินความดันซ้ำ
PIH blood test = normal
ตรวจ 24 hr protein urine
No Preeclamsia
Severe : 160/110 mm.Hg
Protein UA 3+ - 4+
Eclamsia
Trasient or Genstation HT : BP 140/90 mm.Hg เป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ ไม่มีโปรตีนในปัสสวะ
:explode:โรคเบาหวาน
ระดับความรุนแรง
Class A1 (glucose intolerance) พบได้ร้อยละ 90
รักษาด้วยการควบคุมอาหาร
Class A2 (overt DM) หมายถึงมี fasting hyperglycemia
คือระดับน้ำตาลมากกว่า 105 มก./ดล. รักษาด้วยอินสุลิน
ผลของโรคเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
ภาวะทารกตัวโต
เสี่ยงทารกเสียชีวิตในครรภ์ ช่วง 4-8 สัปดาห์สุดท้ายก่อนคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
วิธีการตรวจ
50 กรัม Glucose challenge test
157 mg%
100 กรัม oral glucose tolerance test (OGTT)
82 / 165 / 109 / 78
ความผิดปกติของรก
(Placental problems)
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (Placental abruption)
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
หมายถึง : สตรีที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปี
โดยนับอายุจนถึงวันกำหนดคลอด