Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางหูชั้นใน (โรคมีเนียร์ (Meniere’s…
การดูแลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางหูชั้นใน
อาการเวียนศีรษะและบ้านหมุน
(Dizziness and Vertigo)
อาการ
วิงเวียน
ปวดมึน
หน้ามืดตาลาย
เวียนศรีษะบ้านหมุน
เดินเซทรงตัวไม่ได้
สาเหตุ
โรคหินปูนในหูช้ันในเคลื่อนหรือหลุด
โรคหูชั้นในอักเสบจากเชื้อไวรัส(Labyrinthitis)
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน(Meniere's disease)
เนื้องอกกดเส้นประสาท (Acoustic neuroma)
การใช้ยา (Medications)
ยาแอสไพริน (Aspirin)
ยาปฏิชีวนะ
ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจบางตัว
การพยาบาล
แนะนำให้ทำการฝึกการบริหารศีรษะเพื่อฟื้นฟูระบบการทรงตัว
ดูแลอย่างใกล้ชิดขณะฝึกปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุขณะเปลี่ยนท่า
จัดเตรียมเอกสารการบริหารศีรษะด้วยวิธีบริหารแบบ แบรนด์-ดารอฟ ที่สามารถปฏิบัติต่อเองได้ที่บ้าน
ดำเนินการส่งต่อข้อมูลให้พยาบาลในหน่วยบริการปฐมภูมิทราบข้อมูล
แนะนำหลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้น
ความเครียด
การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
การเดินทางโดยทางเรือ
โรคหูชั้นในอักเสบ Labyrinthitis
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัสซึ่งลุกลามจากบริเวณจมูกและลำคอผ่านท่อยูสเตเชียนเข้ามาในหูชั้นใน
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ลุกลามมาจากการอักเสบของหูชั้นกลาง
อาการ
การทรงตัวเสียไปชั่วคราว
เกิดอาการวิงเวียน
การพยาบาล
แนะนำพักอยู่นิ่งๆ
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวหรือการเปลี่ยนท่าทางอย่างกะทันหัน
ค่อยๆหันกลับมาทำกิจกรรมอย่างช้าๆ
หลีกเลี่ยงที่ๆมีแสงไฟจ้า หน้าจอทีวี และการอ่านหนังสือขณะเคลื่อนไหว
ทำกายภาพบำบัดเพื่อปรับสมดุล
ผู้ป่วยที่มีอาการวิงเวียน ควรหลีกเลี่ยงการกินยาที่อาจมีผลต่อประสาทหู
ในรายที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย นอกจากให้ยาแก้อาเจียนแล้ว ควร
แนะนำให้ กินอาหารเหลว น้ำหวาน นม ครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง
ถ้าไม่มีสาเหตุร้ายแรงและมั่นใจว่าเกิดจากหูชั้นในอักเสบจากไวรัส ควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงสาเหตุที่เป็นเพื่อช่วยลดความวิตกกังวล
โรคมีเนียร์ (Meniere’s disease)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
เชื่อว่ามีการเพิ่มขึ้นของของเหลวในหูชั้นในส่วนที่ควบคุมเกี่ยวกับการทรงตัวหรืออาจเกิดจากปฏิกิริยาภูมิต้านตัวเอง
การติดเชื้อไวรัสหรือความผิดปกติของหลอดเลือด อาจเกิดจากหลังได้รับบาดเจ็บหรือติดเชื้อ
อาการ
มีอาการวิงเวียนอย่างรุนแรง
รู้สึกพื้นบ้านหรือเพดานหมุน
คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง
อาจมีอาการตากระตุก
มักมีอาการหูตึง และมีเสียงดังในหูร่วมกับอาการวิงเวียน
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
แนะนำให้งดอาหารเค็มจัด
ดื่มน้ำให้น้อยลงเพื่อลดปริมาณของเหลวในหูชั้นใน
แนะนำให้ผู้ป่าวยหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนท่าอย่างทันทีทันใด เพื่อป้องกันอาการเวียนศีรษะ
ป้องกันการตกเตียงโดยยกไม้ข้างเตียงขึ้น
แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการอ่านหนังสือที่มีแสงสว่างจ้าเพื่อลดอาการมึนงง
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
การสญูเสียการได้ยิน (Hearing loss)
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการหูอื้อ ฟังไม่ชัด จนกระทั่วไม่ได้ยิน
อาจมีอาการเสียงดังในหูหรือเวียนศีรษะ
อาการที่เกิดจากการนำเสียงผิดปกติ
การได้ยินไม่ชัดเจน
มีอาการปวดหู เจ็บ คันในหู
มีน้ำหรือหนองไหลออกจากหู
อาการที่เกิดจากประสาทรับฟังเสียงผิดปกติ
ได้ยินไม่ชัดแม้เสียงจะดังมาก แต่ในที่เงียบจะได้ยินชัดกว่าในที่จอแจหรือมีเสียงรบกวน
มีเสียงดังในหูเป็นเสียงสูงๆ
เสียงวิ้งๆ หรือจี๊ดๆ
หากเสียงสูงมากจะมีอาการปวดหู
การพยาบาล
ควรอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่าวย ไม่ทอดทิ้งให้อยู่คนเดียว
แนะนำให้ญาติเอาใจใส่และรับฟัง คำปรึกษาของผู้ป่วย
ประเมินอาการที่ผิดปกติของผู้ป่วย
มีเสียงดังในหู
เวียนศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
แนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการสูญเสียการได้ยิน
ห้ามแคะหู ปั่นหู
ไม่ให้นำเข้าหูขณะที่ช่องหูอักเสบหรือแก้วหูทะลุ
พยายามให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ โดยก่อนพูดควรให้ผู้ป่วยมีความพร้อมที่จะฟัง
พูดกับผู้ป่วยช้าๆ และชัดเจน ใช้มือหรือท่าทางช่วยประกอบการพูด อยู่ระยะห่างพอที่จะมองเห็นปากผู้ป่วย
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติด้านจิตใจ
ได้รับเสียงดังเกินไปหรือการสัมผัสเสียงดังซ้ำ ๆเป็นเวลานานทำ ให้เกิดการสูญเสียการได้ยินแบบค่อยเป็นค่อยไป
เกิดจากความผิดปกติในสมอง
เส้นเลือดในสมองแตก
มีเนื้องอกในสมอง
เกิดจาการนำเสียงประสาทรับฟังเสียงผิดปกติ
ได้รับยาที่มีพิษต่อหู ทำ ให้เกิดความเสียหายต่อโคเคลีย ประสาทหู หรือระบบรับรู้การทรงตัว
เกิดจากประสาทรับฟังเสียงผิดปกติ
ภาวะขี้หูอุดตัน
เกิดจากการนำเสียงผิดปกติ