Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประยุกต์ใช้กับโจทย์สถานการณ์ (Question (การบริการสุขภาพคืออะไร,…
การประยุกต์ใช้กับโจทย์สถานการณ์
Key Word
การบริการสุขภาพที่บ้าน
แผนการเยี่ยมบ้าน
พยาบาลอนามัยชุมชน
มารดาหลังคลอด 7 วัน
ทารกหลังคลอด 7 วัน
รักษาไม่ต่อเนื่อง
Down Syndrome
บันทึกรายงานการเยี่ยมบ้าน
Question
การบริการสุขภาพคืออะไร
มีวิธีการให้บริการสุขภาพที่บ้านอย่างไร
ขั้นตอนการเยี่ยมบ้านมีอะไรบ้าง
หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชนมีอะไรบ้าง
อาการปกติของมารดาหลังคลอด 7 วัน
มีวิธีการดูแลและให้คำแนะนำมารดาหลังคลอด 7 วัน อย่างไร
อาการปกติของทารกหลังคลอด 7 วัน
มีวิธีการดูแลและให้คำแนะนำทารกหลังคลอด 7 วัน อย่างไร
ภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาไม่ต่อเนื่องของชายไทย 80 ปี ที่มีโรคประจำตัว DM , HT มีอะไรบ้าง
ภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาไม่ต่อเนื่องของชายไทย 80 ปี ที่มีโรคประจำตัว DM , HT ควรดูแลอย่างไร
การรักษาไม่ต่อเนื่องทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในชายไทย 80 ปี มีโรคประจำตัว DM, HT ใช่หรือไม่
อาการ Down Syndrome มีอะไรบ้าง
วิธีการดูแลและให้คำแนะนำผู้ป่วย Down Syndrome มีอะไรบ้าง
บันทึกรายงานการเยี่ยมบ้านคืออะไร
การเขียนบันทึกรายงานการเยี่ยมบ้านมีวิธีการอย่างไร
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความหมายและวิธีการของการบริการสุขภาพที่บ้าน
เพื่อศึกษาขั้นตอนของการเยี่ยมบ้าน
เพื่อศึกษาหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
เพื่อศึกษาหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
เพื่อศึกษาวิธีการดูแล การให้คำแนะนำและเปรียบเทียบอาการปกติและผิดปกติของมารดาหลังคลอด 7 วัน
เพื่อศึกษาวิธีการดูแล การให้คำแนะนำและเปรียบเทียบอาการปกติและผิดปกติของทารกหลังคลอด 7 วัน
เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อน วิธีการดูแลตนเองและการให้คำแนะนำของชายไทย อายุ 80 ปี ที่เป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เพื่อศึกษาอาการ วิธีการดูแลและการให้คำแนะนำผู้ดูแลผู้ป่วย Down syndrome
เพื่อศึกษาความหมายและวิธีการบันทึกรายงานการเยี่ยมบ้าน
สมมติฐาน
การทำความเข้าใจและมีความรู้เกี่ยวกับการบริการสุขภาพที่บ้าน ทำให้การบริการสุขภาพที่บ้านมีประสิทธิภาพและครอบคลุมมากขึ้น
ถ้าทราบขั้นตอนการเยี่ยมบ้านจะทำให้สามารถวางแผนการเยี่ยมบ้านได้อย่างถูกต้อง
การที่มีการวางแผนการเยี่ยมบ้านทำให้การเยี่ยมบ้านมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การทำความเข้าใจและการศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชนสามารถทำให้ปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมมากขึ้น
ถ้าทราบอาการปกติและผิดปกติของมารดาหลังคลอด 7 วัน จะสามารถดูแลและให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง
ถ้าทราบอาการปกติและผิดปกติของทารกหลังคลอด 7 วัน จะสามารถดูแลและให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง
ถ้ามีวิธีการดูแลตนเองได้ดีเกี่ยวกับโรค DM , HT ก็จะไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับดาวน์ซินโดรมจะสามารถดูแลผู้ป่วยดาวน์ซินโดรมได้
ถ้าทราบวิธีการบันทึกการเยี่ยมบ้านจะสามารถวางแผนการดูแลผู้ป่วยแบบต่อเนื่องได้ดีขึ้น
อุปกรณ์เยี่ยมบ้านครอบครัวที่ 1
แผนที่สำหรับทางไปบ้านผู้ป่วย
หูฟัง(stethoscpoe)
เครื่องวัดความดัน
ปรอทวัดไข้
สำลี
เครื่องชั่งน้ำหนักเด็กทารก
สายวัดรอบศีรษะ
แอลกอฮอล์
set dressing
ถุงใส่ขยะติดเชื้อ
หน้ากากอนามัย
ถุงมือ disposable
การประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้จากโจทย์สถานะการและการบันทึกรายงานการเยี่ยม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มารดา
ไม่สุขสบายเนื่องจากคัดตึงเต้านม
s : มารดาบอกว่า " คัดตึงเต้านมทั้งสองข้าง ”
O : เต้านมคัดตึงทั้งสองข้าง น้ำนมไหลออกน้อยมีสีขาวขุ่น ทารกไม่ค่อยดูดนม
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้มารดาเข้าใจว่าอาการคัดตึงเต้านมเป็นอาการปกติ
สอนและแนะนำให้มารดาประคบเต้านมทั้ง 2 ข้าง
แนะนำมารดาในเรื่องการประคับประคองเต้านม
แนะนำมารดาและสนับสนุนให้ทารกดูดนมเร็ว ดูดนมบ่อย
ประเมินอาการคัดตึงเต้านม การไหลของเต้านม วิธีการให้นมบุตร
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากการเลี้ยงดุบุตรแรกเกิด
s : มารดาบอกว่า”นอนหลับพักผ่อนได้น้อยต้องตื่นบ่อยเพราะลูกร้องกวน”
O : G1P1A0L1 , มารดาหลังคลอด 7 วัน , ทารกแรกเกิด 7 วัน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการที่บ่งชี้ว่านอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินอาการง่วงนอนและการพักผ่อนไม่เพียงพอ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการนอนหลับ
แนะนำมารดาให้ปฏิบัติในสิ่งที่จะช่วยให้นอนหลับได้
แนะนำให้มารดาพักผ่อนในตอนกลางวันประมาณ 1-2 ชั่วโมง
แนะนำให้มารดาดูแลความสะอาดของร่างกายและความสุขสบายทั่วไป
แนะนำให้ญาติหรือสามีช่วยเลี้ยงดูแลเด็ก
ทารก
เสี่ยงต่อภาวะตัวเหลืองเ
นื่องจากการทำงานของตับ
ในการทำลาย bilirubin
ยังไม่มีประสิทธิภาพ
O : G1P1A0L1
ประเมินอาการตัวเหลือง
วัดและประเมินสัญญาณชีพ
ให้ทารกได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้ทารกได้รับนมอย่างเพียงพอ
สอนและให้คำแนะนำในการกระตุ้นดูดกลืนของทารก
s : มารดาบอกว่า “ทารกร้องกวนบ่อย ไม่ค่อยดูดนม ตัวเหลือง ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม”
O : น้ำหนัก 2,580 กรัม
ครอบครัว
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับ
การเลี้ยงลูกเนื่องจากตั้งครรภ์แรก
O : G1P1A0L1
กิจกรรมการพยาบา่ล
สร้างสัมพันธภาพกับมารดา
ประเมินอาการวิตกกังวลของมารดา
เปิดโอกาสให้มารดาได้พูดและระบายความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้มารดาได้ซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ
ให้ความรู้มารดาเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของทารกหลังคลอด
ให้ความรู้มารดาเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรเพิ่มเติม
โดยเฉพาะการกระตุ้นให้ลูกดูดนม
แนะนำผู้ป่วยใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
เปิดโอกาสให้สามีและครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือมารดา
S : มารดาบอกว่า ” กังวลเรื่องเลี้ยงลูก
เป็นลูกคนแรก ลูกไม่ค่อยดูดนม
ตัวเหลือง ร้องกวนบ่อย ต้องตื่นบ่อย
นอนไม่หลับ ต้องเปลี่ยนผ้าอ้อม 8-10 ครั้ง/วัน ”
การเลือกรายเยี่ยมโดยใช้เกณฑ์การแบ่งกลุ่มรายเยี่ยม
ครอบครัวที่ 1 จัดอยู่ในกลุ่มการเยี่ยมบ้านหลังออกจากโรงพยาบาล
ครอบครัวที่ 2 จัดอยู่ในกลุ่มการเยี่ยมบ้านคนเจ็บป่วย
ครอบครัวที่ 3 จัดอยู่ในกลุ่มการเยี่ยมบ้านคนเจ็บป่วย
การจัดลำดับรายเยี่ยม
ใช้เกณฑ์ประเมินความเร่งด่วนและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ครอบครัวที่ 1 ซึ่งเป็นครอบครัวของมารดาและทารกหลังคลอดเพียง 7 วัน เยี่ยมเป็นลำดับแรก
ครอบครัวที่ 2 มีอาการ มีไข้ทุกคืน ไอ มีเสมหะเรื้อรัง เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย อาจสันนิฐานได้ว่ารายเยี่ยมรายนี้ป่วยเป็นโรคที่สามารถติดต่อแพร่กระจายเชื้อได้ เยี่ยมเป็นลำดับสุดท้าย
ครอบครัวที่ 2 เป็นวัยรุ่นที่เป็นดาวน์ซินโดรมเยี่ยมเป็นลำดับที่ 2
วางแผนการเยี่ยมและจัดเตรียมอุปกรณ์ในการเยี่ยมบ้าน
กระเป๋าเยี่ยมและอุปกรณ์การเยี่ยม
1.แผนที่
หูฟัง (Stethoscope)
3.เครื่องวัดความดัน
4.ปรอทวัดไข้สำหรับวัดอุณหภูมิทางปากและทางทวารหนัก อย่างละ 1 อัน
5.สำลี
6.เครื่องชั่งน้ำหนักเด็กแบบสปริง
7.สายวัด
8.แอลกอฮอล์
9.Set Dressing
10.ถุงใส่ขยะติดเชื้อ
11.Mask , ถุงมือ Disposable
12.ไม้กดลิ้น
13.ลูกสูบยาง
14.กรรไกร
15.ตลับวาสลีน
16.ชามรูปไต 1 ใบ
17.ขวดน้ำสบู่สำหรับใช้ล้างมือ
18.สิ่งปูรองกระเป๋า หรือกระดาษหนังสือพิมพ์
19.สมุดบันทึก
อุปกรณ์อื่น ๆ
แผ่นพับแนะนำอาหารเพิ่มน้ำนมแม่และการให้นมบุตรอย่างถูกวิธี
วัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้าน
เพื่อให้มารดาคลายความวิตกกังวลจากการเลี้ยงลูกคนแรก
เพื่อให้ครอบครัวคลายความวิตกกังวลจากอาการผิดปกติของทารก
เพื่อให้การพยาบาลมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด
ใช้เกณฑ์ประเมินความเร่งด่วนและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
เยี่ยมเป็นลำดับแรก
ครอบครัวที่ 1
เยี่ยมเป็นลำดับที่ 2
ครอบครัวที่ 3
เยี่ยมเป็นลำดับสุดท้าย
ครอบครัวที่ 2
ประเมินภาวะสุขภาพ โดยใช้เครื่องมือ INHOMESSS
I
มารดา : สามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี
N
ทารก : ดูดนมแม่อย่างเดียว BW 2,580 g
มารดา : รับประทานอาหารปกติ วันละ 3 มื้อ ตรงเวลา ดื่มน้ำกรอง วันละ 8-10 แก้ว
H
สภาพแวดล้อม : ภายในบ้านจัดบ้านเป็นสัดส่วน สะอาด วางของเป็นระเบียบ
O
ครอบครัว : ครอบครัวเดี่ยวอาศัยอยู่กับสามี ความสัมพันธ์ในครอบครัวรักใคร่กันดี สามีอาชีพรับจ้าง สามีช่วยทำงานบ้าน และเลี้ยงลูก ทั้งคู่มีอัธยาศัยดี มีมนุษยสัมพันธ์ดี เพื่อนบ้านรักใคร่
M
-
E
มารดา : V/S: BP 120/80 mmHg RR 22/min PR 94/min T 37.2 มารดาหลังคลอดปกติ GIPIAoL1 หลังคลอด ๗ วัน ปากแห้ง คัดตึงเต้านมทั้งสองข้าง น้ำนมไหลออกน้อยมีสีขาวขุ่น หัวนมไม่บอด ไม่บุ๋ม ไม่สั้น น้ำคาวปลาสีแดง ผิวหนังแห้ง ไม่มีผืนไม่มีบาดแผล ไม่มีอาการอักเสบตามผิวหนัง ไม่มีอาการบวมตามร่างกาย เล็บมือเล็บเท้าสะอาด
ทารก : เพศหญิง BW 2,580 g PR 142/min RR 54/min T 36.8 ตัวเหลือง สะดือแห้ง แต่ยังไม่หลุด ผิวหนังมีความชุ่มชื้น มีตุ่มสีขาวที่จมูก (Mila) มีผืนแดงที่แก้ม (Miliaria)
S
บริการที่ได้รับ : รพ.สต. ฟ้าใส
S
ความปลอดภัย : เป็นบ้านกึ่งกึ่งไม้ 2 ชั้น ตั้งอยู่ในหมู่บ้าน สภาพบ้านคงทนแข็งแรง มีเพื่อนบ้านล้อมรอบ ไม่เลี้ยงสัตว์ มีถนนคอนกรีตผ่านหน้าบ้าน
S
ศาสนา : นับถือศาสนาพุทธ