Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Trigeminal neuralgiaโรคปวดเส้นประสาทใบหน้า (การวางแผนจำหน่าย :checkered…
Trigeminal neuralgiaโรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
พยาธิสรีรภาพ :star:
เส้นประสาทใบหน้าหรือ trigeminal nerve เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (เส้นประสาทที่ควบคุมสมองของคนเรามีทั้งหมด 12 คู่) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อในการเคี้ยวอาหารและรับความรู้สึกบนใบหน้า ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัส ความรู้สึกร้อนหรือเย็น เมื่อมีสิ่งรบกวนที่ทำให้การทำงานของเส้นประสาทผิดปกติก็อาจส่งผลให้เกิดอาการผิดปกติต่างๆ ตามมาได้
สาเหตุ :!!:
การที่เส้นเลือดที่อยู่ใกล้เคียงกับเส้นประสาทใบหน้าเคลื่อนเข้ามาใกล้เส้นประสาทมากเกินไปจนเกิดการกระแทกหรือกดทับเส้นประสาท ทำให้การทำงานของเส้นประสาทใบหน้าผิดปกติและไวต่อการกระตุ้นได้ง่ายกว่าปกติ
มีการอักเสบของเส้นประสาทจากโรค multiple sclerosis
เนื้องอก
อากาและอาการแสดง :warning:
ปวดใบหน้าด้านใดด้านหนึ่ง รวมทั้งอาจปวดกระพุ้งแก้ม เหงือกและฟันได้
มีอาการปวดแปลบคล้ายไฟช็อตที่บริเวณใบหน้า
อาการกระตุกที่ปาก
อาการของโรคปวดเส้นประสาทใบหน้ามักเกิดขึ้นเป็นช่วงๆ คือเป็นๆ หายๆ
การวินิจฉัย :pen:
ซักประวัติผู้ป่วยอย่างละเอียด
การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือ MRI (magnetic resonance imaging) เพื่อแยกโรคออกจากโรคอื่นๆ ที่มีลักษณะอาการคล้ายคลึงกันและช่วยให้การวินิจฉัยถูกต้องชัดเจนยิ่งขึ้น
Ct brain
การวางแผนจำหน่าย :checkered_flag:
ให้ความรู้เรื่องโรค สาเหตุ อาการ การปฎิบัติตตนที่ถูกต้อง
แนะนการใช้ยาให้กับผู้ป่วย ให้รับประทานตามคำลั่งของแพทย์ และไม่หยุดยาเอง
จัดสิ่งแวดล้อมให้สุขบาย ไม่ก่อเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย
ปฎิบัติตนตามคำแนะนำของแพทย์ สังเกตอการผิดปกติ
การดูแลสุขอนามัยช่องปากและใบหน้า โดยใช้แปรงนุ่มๆ แปรงฟันเบาๆ หลีกเลี่ยงการโกนหนวดและการแต่งหน้าในรายี่เป็นรุนแรง
แนนำให้มาตรวจตามมนัดเสมอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่กระตุ้นการปวดเช่น อาหรร้อนจัดหรือเย็นจัด
การรักษา :star:
การใช้ยา
ช่วงแรกของการรักษาแพทย์มักให้ยากลุ่มยากันชักเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด แต่การรักษาด้วยวิธีนี้ไม่ได้เป็นการรักษาสาเหตุของโรค หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาแพทย์อาจพิจารณาแนวทางการรักษาอื่น
การผ่าตัด
แพทย์จะทำการผ่าตัดเพื่อแยกเส้นเลือดที่กดทับเส้นประสาทออก (microvascular decompression) ซึ่งถือเป็นการแก้ไขที่สาเหตุของการเกิดโรคโดยตรง พบว่าวิธีนี้อาจช่วยให้ผู้ป่วย 80-85% หายขาดจากโรคได้ โดยความเสี่ยงของการผ่าตัดก็เช่นเดียวกับการผ่าตัดอื่นๆ เช่น การติดเชื้อ มีเลือดออกบริเวณแผลผ่าตัด เป็นต้น
การฉายรังสี
เพื่อทำลายเส้นประสาท ทำให้เกิดอาการชาบริเวณใบหน้าแทนอาการปวด แต่การรักษาด้วยวิธีนี้จะมีผลทำให้ผู้ป่วยมีอาการชาบริเวณใบหน้าตลอดเวลา หรืออาจเกิดผลข้างเคียงทำให้ผู้ป่วยมีอาการทั้งปวดและชาบริเวณใบหน้าตลอดเวลา (anesthesia dolorosa)
การพยาบาล :<3:
สังเกตอาการปวด และจัดสิ่งแวดล้อมให้พักผ่อนได้
ให้ยากลุ่มกันชักตามแผนการรักษา
รับประทานอาหารที่ไม่ร้อนหรือเย็น
ประเมินสุขภาพปากและการได้รับสารอาหารและน้ำ
ใช้วิธีการล้างปากแทนการแปรงฟัน ถ้าแปรงฟันแล้วเกิดอาการปวด
จัดการปัญหาด้านจิตใจที่มักเกิดควบคู่กับการปวด เช่นความเครียด ความวิตกกังวล นอนไม่หลับ