Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ (การดูแลมารดาและทารกที่ได้รับ…
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
การดูแลมารดาและทารกที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยคีม
การพยาบาลก่อนคลอด
เตรียมด้านร่างกาย ได้แก่ การโกนขนและทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
เตรียมทางด้านจิตใจ บอกเหตุผล วัตถุประสงค์ ขั้นตอนในการใช่คีม สอนทำ breathing exercise
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และปูผ้าเหมือนการทำคลอด
ดูแกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและ FHS
วัด V/S ผู้คลอด
รายกุมารแพทย์เพื่อเตรียมให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิด
การพยาบาลขณะคลอด
พยาบาลควรอยู่เป็นเพื่อนผู้คลอดตลอดเวลา
สวมถุงมือ sterile และช่วยสางเครื่องมือ
ขณะแพทย์ออกแรงดึงศีรษะทารก ให้ผู้คลอดหายใจเข้าลึกๆ เมื่อ แพทย์ดึงจนเห็นรอยท่อระหว่างหน้าผากและเส้นผมทารก แพทย์จะหยุดดึงและถอดคีมออกและทำคลอดศีรษะ ไหล่ ลำตัวต่อไป
ควรอยู่ช่วยเหลือดูแลทารกที่อาจมีอาการผิดปกติหลังคลอด เช่น asphyxia
ข้อบ่งชี้ด้านลูก
มีภาวะ fetal distress
ส่วนนำเป็นก้น
การหมุนของศีรษะผิดปกติ
Prolapsed cord
การพยาบาลหลังคลอด
ตรวจประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
ประเมินเลือดที่ออกจากช่องคลอดโดยใสผ้าขับเลือด
ประเมินแผลฝีเย็บและการขับถ่ายปัสสาวะภายหลังคลอด 4-6 hr
V/S ทุก 15-30 นาที
ดูแลความสุขสบายแก่มารดาทั่วไป เช่น เช็ดตัว เปลื่ยนเสื้อผ้า
ข้อบ่งชี้ด้านมารดา
มารดาไม่มีแรงเบ่ง เช่น จากความอ่อนเพลีย
มารดามีข้อห้ามในการเบ่ง หรือโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
โรคปอด
โรคหัวใจ
ระยะที่สองของการคลอดยาวนานกว่าปกติ
ไม่มีการก้าวหน้าของการคลอดในระยะที่ 2
การหดรัดตัวมดลูกไม่ดี
การดูมารดาทารกที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศ
การพยาบาลก่อนทำ
เตรียมมารดาทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช่และอุปกรณ์ต่างๆ เช่น vacuum ทำคลอด
ในรายที่ไม่มั่นใจในความปลอดภัยของทารกในครรภ์ ควรรายงานกุมารแพทย์ทราบ
การพยาบาลขณะทำ
พยาบาบลควรอยู่เป็นเพื่อนมารดาตลอดเวลา
ฟังและบันทึก FHS เป็นระยะ ถ้าผิดปกติรีบรายงานแพทย์
พยาบาลเป็นผู้ช่วยลดความดันสูญญากาศตามแผนการรักษาของแพทย์
พยาบาลตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกและรายงานให้แพทย์ทราบเป็นระยะ
เตรียมความพร้อมเสมอเมื่อใช่เครื่องดูดสูญญากาศไม่สำเร็จ
เมื่อทารกคลอดพยาบาลจะช่วยคลอดและดูแลตรวจร่างการทารก
ข้อบ่งชี้
มารดา
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี หรือไม่มีแรงเบ่งทารก
มารดามีโรคที่ไม่ควรออกแรกเบ่งคลอดมาก หรือมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
การคลอดระยะที่ 2 ยาวนานหรือหยุดชะงัก การหดรัดตัวของมดลูกน้อย
ลูก
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติ เช่น OT,OPP
มีภาวะ fetal distress
คลอดทารกแฝดคนที่ 2
การพยาบาลหลังทำ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15-30 นาที
ประเมินแผลฝีเย็บและเลือดที่ออกจากช่องคลอด
V/S ทุก 15-30 o นาที และดูแลความสุขสบายทั่วไปของมารดา