Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (ปัจจัยเสริม…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ชนิด
การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะส่วนบน (upper UTI) ได้แก่ การติดเชื้อที่ไต (acute pyelonephritis, renal abscess) กรวยไต (renal pelvis) และ ท่อไต(ureter)
การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (lower UTI) ได้แก่ การติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ (cystitis) และการติดเชื้อที่ท่อปัสสาวะ (urethritis)
สาเหตุ
sex
การคลายตัวของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะคงค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะมากกว่าปกติ
เชื้อแบคทีเรีย E.Coli
ภูมิต้านทานของร่างกายที่ท้างานช้าลง
ปัจจัยเสริม
ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรนขณะตั้งครรภ์ยังมีผลท้าให้ท่อไตมีขนาดใหญ่ขึ้นและบีบตัวลดลง ท้าให้ปัสสาวะค้างอยู่นาน (กระเพาะปัสสาวะมีความจุเพิ่มขึ้นถึงประมาณ 1500 มิลลิลิตร)
การถูกกดของกระเพาะปัสสาวะและท่อไตจากการขยายตัวของมดลูกมดลูก โดยถูกล้าไส้ดันไปด้านขวาของช่องท้องท้ให้เกิดการหยุดนิ่งของปัสสาวะในท่อไต และกรวยไตอักเสบ
แรงดันบนท่อปัสสาวะอาจทำให้เกิดความยากลำบากในการขับปัสสาวะออกจากกระเพาะปัสสาวะให้หมด
Overt DM มีน้้าตาลออกมาจากปัสสาวะ เป็นอาหารที่ดีของเชื้อโรค
ประกอบกับผู้ที่เป็นเบาหวานมีความต้านทานต่อเชื้อโรคต่้า
มีพฤติกรรมชอบกลั้นปัสสาวะ (พบว่าในระยะเวลา 12 ชั่วโมง
เชื้อโรคสามารถเพิ่มจ้านวนได้เป็นล้านตัว)
ภาวะขาดน้้าจากการคลื่นไส้อาเจียน ท้าให้ไม่มีการกระตุ้นให้มีการขับถ่ายปัสสาวะ
เหตุอื่นๆ เช่น สุขอนามัยไม่ดี การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การมีเพศสัมพันธ์ ตั้งครรภ์หลายครั้ง
ผลกระทบ
มารดา
โลหิตจาง
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ทารก
ทารกมีน้้าหนักตัวน้อย
คลอดก่อนก้าหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ปัญญาอ่อนในทารก (mental retardation ininfant)
พัฒนาการช้าในทารก (developmentaldelays in infant)
ความพิการทางสมองในทารก(cerebral palsy in infant)
ทารกเสียชีวิต
อาการและอาการแสดง
ทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
ปัสสาวะแสบขัด (dysuria)
ปัสสาวะขุ่น (turbidurine)
ปัสสาวะมีเลือดปนร่วมกับปวดบริเวณหัวเหน่า (suprapubicpain)
ปัสสาวะบ่อย (frequency)
ปัสสาวะกลางคืน (nocturia)
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่(urgency)
ปัสสาวะไม่พุ่ง (poor stream)
ปัสสาวะออกช้า (hesitancy)
ทางเดินปัสสาวะส่วนบน
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดบั้นเอว
อาจมีอาการที่ทางเดินปัสสาวะส่วนล่างน้ามาก่อนเกิดการติดเชื้อที่ส่วนบน
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ในรายที่เป็นรุนแรงจะมีลักษณะทางคลินิกของการติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมด้วย
เช่น ซึม ไข้สูง เจ็บบริเวณบั้นเอว(costovertebralangle) ข้างใดข้างหนึ่ง
การรักษา
Ampicillin 1-2 กรัม IV ทุก 6 ชั่วโมง ร่วมกับ gentamycin 1 mg/kg ทุก 8ชั่วโมง
Ceftriazone1-2 กรัม IVทุก 24 ชั่วโมง
Cefazolin1-2 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง
คำแนะนำ
ควรล้างมือให้สะอาด ก่อนเข้าห้องน้้าทั้งนี้เพื่อป้องกันเชื้อโรคจากมือสู่กระเพาะปัสสาวะ
และเมื่อขับถ่ายปัสสาวะเสร็จแล้ว ล้างอวัยวะสืบพันธุ์
ให้สะอาดและเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลัง
หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้ารัดรูปและการสวมถุงน่องเป็นเวลานาน แนะน้าให้สวมกางเกงชั้นในที่เป็นผ้าฝ้าย (เพราะผ้าฝ้ายระบายอากาศได้ดี)
หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง