Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ (ภาวะมดลูกแตก rupture of the yterus (:red_flag…
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
ภาวะมดลูกแตก rupture of the yterus
:star:มดลูกส่วนใดส่วนหนึ่งแตก แยก หลังจากทารกโตหรือหลังอายุ 28 wks
:red_flag:ชนิด
2.incomplete ถึงชั้นเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก
3.dehiscence แตกรอยแผลผ่าตัดเดิม อาจไม่มีเลือดออกหรือออกน้อย
1.complete เกิดการติดต่อระหว่างภายในโพรงมดลูกกับช่องท้อง :warning:รุนแรง เสียชีวิต
:red_flag:สาเหตุ
ก่อนการตั้งครรภ์
-เคยผ่าตัวมดลูก/ผ่าคลอด
-มดลูกผิดปกติกำเนิด
-เคยcurettage
ขณะตั้งครรภ์
-รับยากระตุ้นหดรัดตัว
-แฝด/ท่าผิดปกติ
-ตั้งครรภ์หลายครั้ง
-ล้วงรก หมุนทารก
:red_flag:อาการ
1.ก่อนมดลุดแตก
-->pathological retraction ring
:<3:Bandl'sring มดลูกมีลักษณะเป็นสองลอน
-->abnomal uterine contraction(tetanic) กระวนกระวาย ปวดมดลูกมาก
2.หลังมดลูกแตก มีอาการเสียเลือดมาก :<3:มดลูกนิ่มลง ไม่หดรัดตัว เสียงFHS ฟังไม่ได้/ช้า
:memo:-แตกแบบไม่สมบูรณ์อาจไม่มีปวดท้อง
-เสียงหัวใจทารกพบ late/variable
-มีเลือดออกช่องคลอด shock
-ส่วนนำทารกสลอยสูงขึ้้น
:hospital:-ป้องกันไม่ให้มดลูกแตก
-เตรียมผ่าตัด
-ถ้าให้ยาoxytocin หยุดให้ทันที
-ถ้าช็อกให้ ringer's lactate
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
Amniotic Fluid Embolism :AFE
:star:ภาวะที่น้ำคร่ำ cell ผม พลัดเข้าสู่กระแสเลือดของผู้คลอด
:red_flag:อาการ
หายใจลำบาก,ซีดเขียว,กระสับกระส่าย :warning:หยุดหายใจ
ความดันต่ำ, :<3:หยุดเต้น----->shock
DIC
📝-severe shock
-พบfibrinogen ลดลง prolong PT,PTT
-ตรวจ pulmonary artery พบ cell ปนน้ำคร่ำ
:silhouette:มารดา
-pulmonary edema
-anaphylactoid reaction
-cardiogenic shock
-cyanosis
:warning:-DIC
🏥 :warning:ทำให้ระบบหัวใจและปอดอยู่ในภาวะคงที่
นอนศีราะสูง หรือตะแคงซ้ายร่วม(ถ้าลูกdistress)
ให้สารน้ำแบบ isotonic /vasopresser และให้เลือดเพื่อลด DIC
ให้ออกซิเจน face mask 100%หรือ endotracheal tube
:red_cross:ห้ามเลาะแยกถุงน้ำคร่ำ (stripping membranes)ทำให้หลอดเลือดดำปากมดลูกฉีกขาด
:question:-severe contraction
-MR
-ทารกตาย
-คลอดก่อน
-มดลูกแตก ผ่าคลอด ผิดปกติของรก
ภาวะสายสะดือย้อย prolapsed cord
:question:-ท่าผิดปกติ/CPD
-เจาะถุงน้ำ/แตกก่อนส่วนนำลงอุ้ง
-สายสะดือยาว,รกเกาะต่ำ
-การทำversion
:red_flag:อาการ คลำพบเส้นนุ่ม เสียงหัวใจช้า พบvariable deceleration
:red_flag:ชนิด
2.cord presentation/forelying cord ย้อยต่ำกว่าส่วนนำ :!:ถุงน้ำยังไม่แตก
3.overt prolapsed cord
ย้อยต่ำกว่าส่วนนำ :!:ถุงน้ำแตกแล้ว
1.occult prolapsed cord ย้อยมาอยู่ข้างส่วนนำ ถุงน้ำอาจแตกหรือไม่แตก
🏥
-ใส่ NSS เพื่อดันให้หัวสูง
-ให้ ออกซิเจน face mask 8-10 LPM
-ใช้นิ้วดันส่วนนำ :red_cross:ห้ามดันสายสะดือทำให้เกิด vasospasm
:check:-จัดท่า knee chest position
-เจาะถุงน้ำรายที่ส่วนนำลงอุ้งและรายที่แตกแล้วให้จำกัดการเคลื่อนไหว
:star:ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างส่วนนำหรือต่ำกว่าส่วนนำ อาจโผล่ทางปากช่องคลอด
คลอดฉุกเฉิน Emergency delivery
🏥-ให้คลอดที่ สะอาด แห้ง อบอุ่น และปลอดภัย
-หนีบสายสะดือไม่จำเป็นต้องตัด :red_cross:ห้ามดึงทารกและรก ห้ามหุบขา
ทารกขาดออกซิเจน fetal distress
:question: -preterm IUGR
-โรคอายุรกรรม
-รกเสื่อม เกาะต่ำ สายสะดือย้อยถูกกด
-ได้รับยาแก้ปวด
:red_flag:อาการ
-thick meconium
-:<3:ผิดปกติช้า พบ Late/Variable
-เคลื่อนไหวน้อยลง
🏥-category 1 ดูแลตามปกติ
-category 2,3 รายงานแพทย์ จัดท่าตะแคงซ้าย หยุดให้oxytocin ให้ออกซอเจนขนาดสูง ติดตามFHS
ภาวะมดลูกปลิ้น Inversion of the uterus
:star:ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาด้านนอกและโผล่ออกมาช่องคลอด หรืออาจไม่โผล่
:question: -ทำ cord traction ขณะรกไม่ลอก
-ความดันช่องท้องเพิ่ม
-สายสะดือสั้น คลอดเร็ว ผนังมดลูกบาง
-ใช้คีมช่วยคลอด
🏥-ป้องกันการช็อก
-ดูแลเรื่องปวด
-ทำหัตถการดึงมดลูกและให้oxytocinทันทีหลังทำ
-ถ้ามดลูกยื่นออกมานอกใช้ผ้าชุปNSSคลุมไว้
:red_flag:ชนิด
แบ่งตามความรุนแรง
complete ยุบมาในโพรงและพ้นปากมดลูก
prolapsed ยุบผ่านพ้นออกช่องคลอด
incomplete ยุบบางส่วน
แบ่งตามระยะเวลา
acute ภายใน 24 ชม.หลังคลอด
subacute หลัง 24 ชมและ 1 เดือนหลังคลอด
chronic เกิด 1 เดือนหลังคลอด
:red_flag:การป้องกัน
-ห้ามดึงสายสะดือก่อนมีsign รกลอกตัว
-ห้ามกดดันยอดมดลูกลงมา
-ทำให้มดลูกแข็งตัวอยู่เสมอ
-ลดการไอจามแรงๆ
:red_flag:อาการ
-ยอดมดลูกเป้นแอ่งบุ๋ม(creter-like depression)-->incomplete และไม่พบยอดมดลูก-->complete
-ปวดช่องท้องรุนแรง
-severe PPH
คลอดเฉียบพลัน precipitate labor
:star:คือการคลอดเร็วภายใน 3 ชม. หรือในระยะที่ 2 ไม่ถึง 10 นาที หรือใช้เวลาทั้งหมด 2-4 ชม
:question: ตั้งครรภ์หลายครั้ง,abnomally strong uterine and abdominal contraction,ทารกตัวเล็ก
:silhouette:
มารดา--> หดแรงมดลูกแตก
,เกิดมดลูกปลิ้น,AFE,PPH
ทารก-->ขาดออกซิเจน
,truama,สำลักน้ำคร่ำ
:red_flag:อาการ มดลูกหดรัดตัวทุก 2 นาที D>75-90 วิ
🏥ป้องกันการเกิดการคลอดเฉียบพลันและ อันตรายที่จะเกิดจากการคลอดเฉียบพลัน :warning:ถ้าเกิดแบบ caul delivery ห้ามจับเด็กมากให้ฉีกถุงน้ำให้แตก จับศีรษะต่ำกว่าตัวตะแคงหน้า ล้วงน้ำคร่ำออก
ภาวะรกค้าง Retained placenta
:star:ภาวะที่รกไม่คลอดภายหลังทารกคลอด 30 นาที
:question:สาเหตุ
1.ขาดกลไกการลอกตัวของรก
:pencil2:รกปกติ แต่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เช่นมีfull bladder,prolong,อ่อนเพลีย
:pencil2:รกผิดปกติ แต่หดรัดตัวปกติ เช่นรกฝังแน่น,รกมีเนื้อตาย,
2.ขาดกลไกของการขับดันรก
ลอกแล้ว ผ่านออกมาโพรงมดลูกส่วนบนไม่ได้
ลอกแล้ว ผ่านโพรงมดลูกออกมาช่องคลอดแต่ไม่ผ่านออกมาภายนอก
3.รกผิดปกติ แม้มดลูกหดรัดตัวดี แต่รกฝังลึกผิกปกติ
placenta accreta เกาะแน่นที่ผนังมดลูก
placenta increta เกาะลึกที่กล้ามเนื้อมดลูก
placenta percreta ฝังลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อ
:silhouette:PPH,เสี่ยงถูกตัดมดลูก,ติดเชื้อ
:red_flag:อาการ ไม่มีอาการและอาการแสดงของรกลอกตัว,เลือดออกมาก,มดลูกหดรัดไม่ดี,กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว
🏥
MROP ล้วงรก
บางส่วนขาดหาย
ตกเลือดพบเศษรกปน
ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที
:<3:กดไล่ blood clot,ABO
curettage
hysterectomy
poppy