Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การปฏิบัติภารกิจงานตรวจสอบ (เทคนิควิธีการตรวจสอบ (2…
บทที่ 11 การปฏิบัติภารกิจงานตรวจสอบ
1.มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
รหัส 2320
การวิเคราะห์และประเมินผลหลักฐานที่ได้
รหัส 2330
การบันทึกสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
รหัส 2310
การระบุสารสนเทศที่ต้องการ
รหัส 2340
การควบคุมดูแลภารกิจงานตรวจสอบ
1.1 การระบุสารสนเทศที่ต้องการ
ความเชื่อถือได้(Reliable)
มาจากแหล่งที่เชื่อถือได้และโดยใช้วิธีการตรวจสอบที่ดีที่สุด
ความเกี่ยวข้อง(Relevant)
กับวัตถุประสงค์การตรวจและสนับสนุนข้อสังเกตการณ์หรือข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบ
ความเพียงพอ (Sufficient)
เช่น เอกสารต้นฉบับ ได้จากผู้ที่เกี่ยวข้อง หลักฐานจากราชการ หรือกฏหมาย ภาพถ่ายในเหตุการณ์จริงและพิสูจน์ได้
ความเป็นประโยชน์(Useful)
มีความทันเวลา (Timeliness) และความมีสารสำคัญ(Materiality) ช่วยให้องค์การบรระลุตามวัตถุประสงค์
เทคนิควิธีการตรวจสอบ
2.เทคนิคการสัมภาษณ์หรือการสอบถาม
การเลืองผู้สัมภาษณ์และควรมีการเตรียมตัว
คำคามหนักๆ
เช่น ฝ่ายบริหารได้สนับสนุนเรื่องนี้อย่างไร..
คำถามเกี่ยวกับคุณภาพของงาน
เช่น เราควรปรับปรุงเรื่องนี้อย่างไร..
คำถามที่ให้เสดงความคิดเห็นส่วนตัว
เช่น ท่านพอใจในเรื่องนี้อย่างไร..
คำถามเปิดประเด็น
เช่น บริษัทได้...แล้วหรือไม่
คำถามเปิด
เช่น เราควรจะทำอย่างไรเพื่อ...
3.เทคนิคการนำเสนอ
เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจเรื้อเรื่องได้ดีขึ้น ประหยัดเวลาและมีโอกาสในการซักถาม ผู้นำเสนอควรมีเทคนิคการนำเสนอที่ดี
1.เทคนิคด้านมนุษยสัมพันธ์และการสื่อสาร
การสร้างบรรยากาศของมิตรภาพ
ควรพิจารณาถึงลักษณะของวิธีการตรวจ(Nature) ขอบเขต(Extent) และระยะเวลา(Timing)
4.เทคนิคการเขียนรายงาน
5.เทคนิคการระบุและรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ
5.1วิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ
5.2วิธีการตรวจสอบในรายละเอียด
4.)การสอบถาม(InQuiry), 5.)การวิเคราะห์(Analyze), 6.)การสังเกตการณ์
7.)การตรวจติดตามร่องรอย(Walhthrough), 8.)การคำนวณ(Computation), 9.)เทคนิคการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (Computer Assisted Audit techniques:CAATs)
1.)การตรวจนับทางกายภาพ, 2.)การตรวจสอบเอกสาร, 3.)การตรวจหารายการผิดปกติ
การสุ่มตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบ
ความเสี่ยง
ความเสี่ยงจาการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เช่น ตัวอย่างผิดไปจากลักษณะของประชากร
ความเสี่ยงที่ไม่ได้เกิดจากกลุ่มตัวอย่าง
เช่น การใช้วิธีการตรวจสอบผิด การสรุปผลผิด
การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุมต่ำไป
ภาษาสถิติเรียกว่าความผิดพลาดประเภทที่ 2
(Type II Error,Beta Risk)
การประเมินความเสี่ยงการควบคุมสูงไป
ภาษาสถิติเรียกว่าความผิดพลาดประเภทที่ 1 (Type I Error,Alpha Risk)
วิธีการสุ่มตัวอย่างทางสถิติเพื่อทดสอบการควบคุม
แบบแยกกลุ่มตามระดับชั้น
เช่นการตรวจสอบการอนุมัติเครดิต แยกตามกลุ่มจำนวนเงินหรือระดับผู้อนุมัติ เป็นต้น
แบบยุติหรือทำต่อ
โดยพิจารณาจากค่าความเบี่ยงเบน
เพื่อทดสอบลักษณะ
แบบค้นพบ
พิจารณาตามค่าเบี่ยงเบนที่พบ
วิธีการสุ่มตัวอย่างทางสถิติเพื่อทดสอบค่าจำนวนเงินหรือยอดตามบัญชี
1.)การสุ่มตามสัดส่วนโอกาสเกิดและขนาด (PPS) หรือการสุ่มตามมูลค่าหรือตามจำนวนเงิน
2.)การสุ่มตัวอย่างแบบ Classical Variable Sampling
การบันทึกสารสนเทศหรือกระดาษทำการ
ประเภทของกระดาษทำการ
วิธีการตรวจสอบ
แสดงการสอบทานงาน
การวางแผน
การสื่อสารผลการตรวจ
แฟ้มกระดาษทำการ
แฟ้มงานประจำตัว
แฟ้มกระดาษทำการ
เมื่อเสร็จสิ้นการตรวจ
การควบคุมและรักษากระดาษทำการ
การเปิดเผยต่อบุคคลภายในต้องปฏิบัติตามวิธีที่หน่วยงานกำหนดและเฉพาะบุคคลที่ได้รับการอนุญาต
ไม่ควรเปิดเผยวิธรการตรวจสอบในรายละเอียด
เก็บกระดาษทำการเฉพาะที่สำคัญและคืนเอกสารให้หน่วยงานเจ้าของเมื่อเสร็งาน
ควรมีการจัดเก็บให้สะดวกต่อการค้นหาและอ้างอิง
เอกสารที่ผู้ตรวจสอบจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกสารสนเทศเกี่ยวกับการตรวจสอบ และจะได้รับการสอบทานงานโดยผู้ควบคุม
การควบคุมดูแลงานตรวจสอบภายใน
ตามสายบังคับบัญชา
ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ ทักษะและความสามารถในงานที่ได้รับมอบหมาย
การกำหนดคำสั่งหรือวิธีการปฏิบัติงานที่เหมาะสมในระหว่างการวางแผนงานและแผนงานตรวจได้รับอนุมัติอย่างถูกต้อง
การควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามแผนที่ได้รับอนุมัติ เว้นแต่มีการเปลี่ยนแปลงแผนงานให้เหมาะสมขึ้น
ความมั่นใจว่าการสื่อสารผลการตรวจสอบเป็นไปอย่างถูกต้อง เที่ยงธรรม ชัดเจน กะทัดรัด สร้างสรรค์และทันกาล
ความมั่นใจว่าการปฏิบัติงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
วิธีการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประสิทธิผล
ทำให้ได้หลักฐานผลลัพธ์ตรงกับวัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพ
วิธีการตรวสอบที่เรียงลำดับสิ่งที่ควรทำก่อน-หลัง อย่างเหมาะสม ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายเหมาะสม
การสอบทานกระดาษทำการ
การสอบทานตามสายบังคับบัญชา เพื่อให้มั่นใจถึงความก้างหน้าและคุณภาพของหลักฐาน เรียกว่า กระดาษทำการสอบทานงาน