Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาแอพพิเคชั่นเสมือนจริง เพื่อสร้างเจตคติและความตระหน…
การพัฒนาแอพพิเคชั่นเสมือนจริง
เพื่อสร้างเจตคติและความตระหนัก
เรื่อง สุขภาพฟัน
แอพพิเคชั่น [Application]
โปรแกรมที่อำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ที่ออกแบบมาสำหรับ Mobile (โมบาย) Teblet (แท็บเล็ต) หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ ที่เรารู้จักกัน
เอ็มเลิร์นนิ่ง (m-Leaning)
เป็นการเรียนรู้แบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายโดยการนำอุปกรณ์เคลื่อนที่หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์สื่อสาร ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว
เสียง
เสมือนจริง
เจตคติ(Attitude)
ขัตติยา กรรณสูต (2516:2)
ให้ความหมายไว้ คือ ความรู้สึกที่คนเรามีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือหลายสิ่ง ในลักษณะที่เป็นอัตวิสัย (Subjective) อันเป็นพื้นฐานเบื้องต้น หรือการแสดงออกที่เรียกว่า พฤติกรรม
สุชา จันทร์เอม และ สุรางค์ จันทร์เอม (2520:104)
ให้ความหมายเจตคติ คือความรู้สึก หรือท่าทีของบุคคลที่มีต่อบุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรู้สึก หรือท่าทีจะเป็นไปในทำนองที่พึงพอใจ หรือไม่พอใจ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้
สงวนศรี วิรัชชัย ( 2527:61)
ให้ความหมายเจตคติ คือสภาพความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงประเมินที่มีต่อสิ่งต่างๆ(วัตถุ สถานการณ์ ความคิด ผู้คน ฯลฯ) ซึ่งทำให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรมต่อสิ่งนั้น ในลักษณะเฉพาะตัวตามทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่
BELKIN และ HKYDELL (1979:13)
ให้ความหมายเจตคติ คือ แนวโน้มที่บุคคลจะตอบสนอง ในทางที่เป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อผู้คน เหตุการณ์ และสิ่งต่างๆอย่างสม่ำเสมอและคงที่
สภาพปัญหาในปัจจุบัน
พฤติกรรมการบริโภคในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปี
ร้อยละ 69.9 กินขนม/เครื่องดื่ม/ลูกอมระหว่างมื้อ
ร้อยละ 38.9 ดื่มน้ำหวาน มากกว่า 3 วัน/สัปดาห์
ร้อยละ 26.6 ดื่มน้ำอัดลมมากกว่า 3 วัน/สัปดาห์
ร้อยละ 76.9 กินขนมกรุบกรอบ
ร้อยละ 58.6 กินลูกอม
พฤติกรรม ด้านการทำความสะอาดช่องปาก
มีเพียงร้อยละ 57.8 ที่มีการแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน
ร้อยละ 38.8 ที่ไม่รับประทานอาหารใดๆ
อีกหลังการแปรงฟัน
พบว่าเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีปราศจากฟันผุร้อยละ 60.9 ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 2.7 แม้ว่าเด็กอายุ 6-12 ปีจะได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 56.6 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 9.7 แต่เด็กยังมีปัญหาด้านพฤติกรรมการบริโภคและการทำความสะอาดช่องปาก จากการสำรวจปัจจัยเสี่ยงสำคัญตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2557
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กวัยเรียนจำเป็นต้องเชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่โรงเรียน และการดูแลของผู้ปกครองที่บ้านร่วมด้วย คือ การพัฒนาเพื่อให้เด็กทุกคนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเอง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทบทวนกระบวนการทำงานที่ผ่านมา และพัฒนานวัตกรรมที่จะส่งผลต่อสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียน อย่างยั่งยืนต่อไป
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom’s Taxonomy)
ทักษะพิสัย
จิตพิสัย
พุทธิพิสัย