Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาสิ่งแวดล้อม Environmental Pathology (กลไกการเกิดพิษ…
พยาธิวิทยาสิ่งแวดล้อม
Environmental Pathology
กลไกการเกิดพิษ
การดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
ผ่านทางเยื่อหุ้มเซลล์
Passive diffusion
Active diffusion
ผ่านระบบทางเดินอาหาร
ผ่านทางผิวหนัง
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมสารพิษ
สภาพทางกายภาพและเคมีของสารพิษ
ความสามารถในการละลาย
สภาวะแวดล้อมที่ตำแหน่งที่จะมีการดูดซึม
ความเข้มข้นของสารพิษในบริเวณที่มีการดูดซึม
การไหลเวียนของกระแสโลหิตในตำแหน่งที่มีการดูดซึม
การกำจัดพิษออกจากร่างกาย
ขับสารพิษออกทางปัสสาวะ
ขับสารพิษออกทางน้ำดี
ขับสารพิษออกทางปอด
ขับสารพิษออกทางน้ำนม
การได้รับสารพิษ
การได้สารพิษอย่างเฉียบพลัน
การได้รับสารพิษกึ่งเรื้อรัง
การได้รับสารพิษแบบกึ่งเรื้อรัง
การได้รับสารพิษแบบเรื้อรัง
การออกฤทธิ์
การทำอันตรายเฉพาะที่หรือการออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง
การออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
การตอบสนของร่างกายต่อสารพิษ
ผลรวมของการเกิดพิษของสารพิษแต่ละชนิด
เสริมฤทธิ์กัน
เพิ่มศักยภาพในการออกฤทธิ์
ยับยั้งการเกิดพิษ
สิ่งที่ทำให้เกิดพิษ
สารพิษทางธรรมชาติ
Mammal bite สัตว์กัด
การฉีดวัคซีนป้องกัน
โรคพิษสุนับข้าเข้าทางผิวหนัง
Snack bite งูกัด
ระบบที่ทำให้เกิดพิษ
พิษต่อระบบประสาท
งูเห่าไทย
งูจงอาง
งูสามเหลี่ยมหางแดง
พิษต่อระบบเลือด
งูแมวเซา
งูกะปะ
งูเขียวหางไหม้
พิษต่อกล้ามเนื้อ
งูทะเล
พิษอ่อน
งูปล้องทอง
คำแนะนำ
ให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
นำงูมาด้วยถ้าได้
ห้ามกรีด ดูด แล้วพอกยาบริเวณแผลงูกัด
Dangerous Marine ทางทะเลที่เป็นอันตราย
แมงกะพรุน
มีผลต่อระบบประสาทและหัวใจ
ปวดอย่างรุนแรง
หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
สารทางกายภาพ
บาดเจ็บจากไฟฟ้า
อาการเจ็บหน้าอกหรือใจสั่น
มีช่วงเกร็งกล้ามเนื้อขณะที่สัมผัสกระแสไฟฟ้า
ยา
เกิดจากการใช้ยาเกินขนาด
Paracetamol
ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช น้ำยาล้างห้องน้ำ
สารหนู ปรอท ตะกั่ว
ให้ยาแก้พิษ
ทำให้สารพิษมีความเข้มข้นน้อยลง
การทำให้อาเจียน
คำแนะนำ
กินสารพิษ
ทำให้สารพิษมีความเข้มข้นน้อยลง
การทำให้อาเจียน
ถูกสารพิษที่ผิวหนัง
ล้างออกด้วยน้ำทันที
ล้างด้วยสบู่เจือจาง
สารพิษเข้าตา
อย่าขยี้ตา ใช้มือเปิดตากว้างๆ
ล้างตานานประมาณ5ถึง10นาที