Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน Teaching and learning Theory (แนวคิดการเรียนรู้…
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
Teaching and learning Theory
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning)
ธรรมชาติของมนุษย์
ด้านจริยธรรม
ด้านพฤติกรรมหรือการกระทา
แนวคิด
แนวคิดที่ 2 เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดี (innately good) 人性本善
แนวคิดที่ 3 เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับลักษณะที่เป็นกลาง ไม่ดี ไม่เลว (innately neutral, neither good nor bad) 不善不恶
แนวคิดที่ 1 เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความไม่ดี (innately bad) 人性本恶
พฤติกรรมหรือการกระทำของมนุษย์
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม มิใช่แรงกระตุ้นภายใน (passive or reactive)
สิ่งแวดล้อมและจากแรงกระตุ้นภายใจตัวบุคคล ( interactive)
แรงกระตุ้นภายในตัวบุคคล (Active)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20และการประยุกต์สู่การสอน
กลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
หลักการสอน
กลุ่มที่มีนักคิด Plato และ Aristotle
หลักการสอน
กลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)
หลักการสอน
กลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด (Apperception or Herbartianism)
หลักการสอน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 และการประยุกต์สู่การสอน(ทิศนา แขมมณี. 2553 50)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม หรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitivism)
ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory)
การรับรู้ (perception)
การหยั่งเห็น (insight)
กฎการจัดระเบียบการเรียนรู้ (perception)
กฎการรับรู้ส่วนรวมและส่วนย่อย (Law of Pragnanz)
กฎแห่งความคล้ายคลึง ( Law of Similarity)
กฎแห่งความใกล้เคียง (Law of Proximity)
กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closure)
กฎแห่งความต่อเนื่อง
หลักการสอน
ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้
หลักการสอน
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
:ทอลแมน (Tolman)
ทฤษฎีการเรียนรู้
หลักการสอน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory)
เพียเจต์ (Piaget)
ทฤษฎีการเรียนรู้
หลักการสอน
บรุนเนอร์ (Bruner)
ทฤษฎีการเรียนรู้
หลักการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning):ออซูเบล (Ausubel)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ โนลส์(Knowles)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของแฟร์ (Faire)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของโคมส์ (Combs)
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของอิลลิส (Illich)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของรอเจอร์ส(Rogers,1969)
หลักการสอน
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของนีล (Neil)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow,1962)
ทฤษฎีการเรียนรู้
หลักการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)
หลักการสอน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
พาฟลอฟ (Pavlov):·หมา:ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ(Classical Conditioning)
กัทธรี (1886-1959):แมว:ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning)
กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Contiguity)
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้แม้เพียงครั้งเดียว (One trial learning)
กฎของการกระทาครั้งสุดท้าย (Law of Recency)
หลักการจูงใจ (Motivation)
หลักการสอน
สกินเนอร์ (Skinner):หนู:ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Conditioning)
หลักการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์
(Hull’s Classical Connectionism):หนู
กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of Reactive Inhibition)
กฎแห่งการลาดับกลุ่มนิสัย (Law of Habit Hierarchy)
กฎแห่งการใกล้บรรลุเป้าหมาย (Goal Gradient Hypothesis)
หลักการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน (Eclecticism):กาเย่ (Gagne)
ประเภทของการเรียนรู้
การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association)
การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning)
การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining)
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning)
การเรียนรู้สิ่งเร้า-การตอบสนอง(stimulus-response)เ
การเรียนรู้กฎ (rule learning)
การเรียนรู้สัญญาน(signal-learning)
การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving)
สมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์
ยุทธศาสตร์ในการคิด (cognitive strategies)
ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills)
ทักษะเชาว์ปัญญา (intellectual skills)
เจตคติ(attitudes)
สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง (verbal information)
หลักการสอน
ให้แนวทางการเรียนรู้ (providing learning guidance)
ให้ลงมือปฏิบัติ (eliciting the performance)
เสนอบทเรียนใหม่ (presenting the stimulus)
ให้ข้อมูลป้อนกลับ(feedback)
กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จาเป็น(stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
แจ้งจุดประสงค์ (informing the leaner of the objective)
สร้างความสนใจ (gaining attention)
ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(assessing the performance)
ส่งเสริมความแม่นยาและการถ่ายโอนการเรียนรู้ (enhancing retention and transfer)
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย
ทฤษฎีพหุปัญญา(Theory of Multiple Intelligences):การ์ดเนอร์
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)
ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence)
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)
หลักการสอน
ระดับพัฒนาการในเชาวน์ปัญญาแต่ละด้านไม่เท่ากัน จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับขั้นการพัฒนาการ
เกิดเป็นเอกลักษณ์หรือลักษณะเฉพาะคนแตกต่างกัน
มีเชาวน์ปัญญาแต่ละด้านไม่เหมือนกัน
ระบบการวัดและประเมินผล ควรมีการประเมินหลาย ๆ
เน้น
ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดรับกับปัญญาที่มีอยู่หลายด้าน
นการประเมินการเรียนรู้ ควรวัดจากเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถครอบคลุมปัญญาในแต่ละด้าน
แต่ละคน ควรได้รับการส่งเสริมให้ใช้ปัญญาด้านที่ถนัด
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
ลักษณะต่างคนต่างเรียน
ักษณะร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้
ลักษณะแข่งขันกัน ในการศึกษาเรียนรู้
องค์ประกอบ
ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก (Positive Interdependent)
การพึ่งพากันเชิงผลลัพธ์
การพึ่งพาในเชิงวิธีการ
การทาให้เกิดการพึ่งพาทรัพยากรหรือข้อมูล (Resource Interdependence)
ทาให้เกิดการพึ่งพาเชิงบทบาทของสมาชิก (Role Interdependence)
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม (Face to Face Promotive Interdependence)
ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละบุคคล (Individual Accountability)
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย (Interpersonal and Small Group Skills)
กระบวนการทางานของกลุ่ม (Group Processing)
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน
ด้านการควบคุมกากับและการช่วยเหลือกลุ่ม
ด้านการประเมินผลและวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้
ด้านการสอน อธิบายคาชี้แจงเกี่ยวงานของกลุ่ม ผู้เรียนต้องทาความเข้าใจให้ตรงกัน
ด้านการวางแผนจัดการเรียนการสอน กาหนดจุดมุ่งหมายของบทเรียนทั้งด้านความรู้และทักษะกระบวนการต่าง ๆ
แนวคิดการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21
3R
(W)Riting (เขียนได้)
(A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)
Reading (อ่านออก)
7C
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
Ludwig Mies van der Rohe (ลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์)
"Less is More" 少即是多
ไทย ประถมมัธยม
“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” (Teach less learn more 少教多学)
ท่านณรงค์ ขุ้มทอง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิการปฏิรูปการศึกษาชาติ
การมีส่วนร่วม (Participation Skill)
ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving Skill)
ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill)
ทักษะจิตสาธารณะ (Public Mind Skill)
ทักษะการคิด (Thinking Skill)