Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Guillan Barre Syndrome ; GBS (การวินิจฉัย :star: (การเจาะน้ำไขสันหลัง…
Guillan Barre Syndrome ; GBS
สาเหตุ :warning:
ไม่พบสาเหตุที่แน่ชัด
ปัจจัยเสี่ยง :!:
การติดเชื้อ
Campylobacter Jejuni
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ
HIV
EBV
วัคซีน
ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ
พยาธิสภาพ :explode:
เกิดจากร่างกายสร้างสารภูมิต้านทานต่อเส้นประสาทส่วนปลายหลายๆเส้นพร้อมๆกัน ส่งผลให้เกิดการอักเสบและการเสื่อมของเ้นประสาทส่วนที่เรียกว่าปลอกประสาท
อาการและอาการแสดง :fire:
อาการด้านการเคลื่อนไหว
มักมาด้วยอาการอ่อนแรงหรือรู้สึกซ่าๆที่ขา เป็นอาการเริ่มต้น จะมีอาการอ่อนแรงแบบอ่อนปวกเปียกของกล้ามเนื้อทั้งสองข้าง
อาการด้านความรู้สึก
มีอาการเหน็บชาเจ็บปวดโดยเฉพาะปลายแขนและขา หลังจากนั้นจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อและกดเจ็บบริเวณไหล่ สะโพกและโคนขา
อาการเส้นประสาทสมอง
โดยเฉพาะส่วนใบหน้า เส้นประสาทสมองคู่7พบความผิดปกติบ่อยที่สุดมีการอัมพาตของหน้า ปิดตาและปากไม่สนิท
การรักษา :smiley:
การรัักษาแบบประคองอาการ ในโรงพยาบาล
เจาะคอใส่ท่อช่วยหายใจ
ดูแลเรื่องสารอาหาร
ความคุมควมดันโลหิต
ป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือด
ดูแลด้านกายภาพบำบัด
การรักษาตัวโรคเอง
การแลกเปลี่ยนพลาสม่า (Plasmapheresis) เพื่อกำจัดแอนติบอดีผิดปกติในพลาสม่าที่เข้าทำลายเซลล์ประสาท
การบำบัดรักษาด้วยอิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin Therapy) คือการรักษาด้วยการให้อิมมูโนโกลบูลิน
การวินิจฉัย :star:
การเจาะน้ำไขสันหลัง (Spinal Tap หรือ Lmbar Puncture) คือการเจาะไขสันหลังช่วงล่างเพื่อนำของเหลวที่เรียกว่าน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังมาตรวจวัดระดับโปรตีน เนื่องจากผู้ป่วย GBS มักมีระดับโปรตีนในของเหลวชนิดนี้สูงกว่าปกติ
การซักประวัติ อาการที่ผิดปกติ
การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Electromyography: EMG) คือการตรวจวัดสัญญาณไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อ เพื่อวินิจฉัยว่าอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงนั้นมีสาเหตุมาจากความเสียหายของระบบประสาทหรือกล้ามเนื้อกันแน่
การตรวจการชักนำประสาท (Nerve Conduction Tests) คือการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กทดสอบการตอบสนองของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ
การวางแผนจำหน่าย :checkered_flag:
ให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินของโรค สาเหตุ การปฏบัติตนที่ถูกต้อง
การบริหารจัดการเกี่ยวกับการหายใจ เช่นการดูแลแผลเจาะคอ การดูดเสมหะด้วยเครื่อง
แนะนำการสังเกตอาการชาตามแขนขา ให้ระวังการติดเชื้อ รับประทานยาตามแพทย์สั่ง มาตรวจตามนัด
สอนและฝึกการออกกำลังกาย บริหารกล้ามเนื้อและข้ออย่างสม่ำเสมอทุกวัน
การพยาบาล :<3:
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยทำทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ให้การพยาบาลเพื่อให้หลอดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ อย่างเพียงพอ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
บันทึกปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับและขับออกทางปัสสาวะ
ให้ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดในขนาดต่ำๆ ตามแผนการรักษา