Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PBL B1 (กลุ่มผู้รับบริการทุกช่วงวัย (วัยสูงอายุ (ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย,…
PBL B1
กระบวนการเยี่ยมบ้าน
ขณะเยี่ยมบ้าน
การพยาบาลขณะเยี่ยม
เทคนิคการใช้กระเป๋าเยี่ยม
ใส่ผ้ากันเปื้อน ระวังอย่าให้สายผ้าถูกพื้นบ้าน
เปิดกระเป๋า หยิบของใช้ที่ต้องการออกมาวางเรียงบนสิ่งปูรอง โดยจัดวางให้เรียบร้อย สะดวกต่อการหยิบใช้ และปิดกระเป๋าเยี่ยม
เมื่อทำการพยาบาลเสร็จแล้ว นำเครื่องใช้ล้างทำความสะอาด และล้างมือให้สะอาด เช็ดของใช้ให้แห้ง และเก็บเข้ากระเป๋า
เก็บผ้าเช็ดมือที่ใช้แล้วในถุงพลาสติก และเก็บไว้ในกระเป๋าด้านนอก
ขั้นทำความสะอาดมือ ถอดนาฬิกาข้อมือออก เทน้ำสบู่ใส่อุ้งมือ และออกไปล้างมือให้สะอาด เช็ดมือให้แห้งด้วยผ้าเช็ดมือที่เตรียมมา
เปิดกระเป๋าโดยใช้มือจับที่หูกระเป๋า เพื่อหยิบเครื่องใช้สำหรับทำความสะอาดมือ ได้แก่ ถุงผ้า บรรจุผ้ากันเปื้อน และผ้าเช็ดมือ ขวดน้ำสบู่ ถุงกระดาษสำหรับใส่ของสกปรก
ถอดผ้ากันเปื้อนออก โดยพับด้านสกปรกไว้ด้านใน เก็บใส่ถุงผ้าเดิม แล้วจึงเก็บเข้ากระเป๋า
ยกกระเป๋าไว้บนตัก เก็บสิ่งปูรอง โดยให้ด้านที่สัมผัสกับพื้นไว้ด้านใน เปิดกระเป๋าให้เรียบร้อย
ภายหลังใช้งานทุกครั้ง เมื่อกลับมาถึงสถานบริการ พยาบาลควรดำเนินการให้มีการทำความสะอาดวัสดุ อุปกรณ์ ที่ได้นำไปใช้ในการพยาบาลผู้รับบริการทุกครั้งทันที
ก่อนการใช้กระเป๋าเยี่ยมควรหาที่วางให้เหมาะสม ไม่เกาะกะกีดขวางทางเดิน สะอาด มีแสงสว่างเพียงพอ ห่างจากตัวผู้เยี่ยมพอประมาณ กระเป๋าที่อยู่บนตักต้อหันด้านเปิดออกนอกลำตัว ไม่วางกระเป๋าลงกับพื้น ควรมีกระดาษหนังสือพิมพ์ปูลงบนพื้นแล้ววางกระเป๋าลงมุมได้มุมหนึ่ง
หลังเยี่ยมบ้าน
บันทึกการเยี่ยมบ้าน
การทำความสะอาดกระเป๋าเยี่ยม
ก่อนเยี่ยมบ้าน
กระเป๋าเยี่ยมบ้าน
อุปกรณ์พื้นฐานและเฉพาะโรค
คำนึงถึงหลักความสะอาด/ไม่แพร่กระจายเชื้อโรค
วางแผนการเยี่ยมบ้าน
แผนที่บ้านผู้ป่วย
ช่องทางติดต่อผู้ป่วย
ศึกษาข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว
แผนการพยาบาล
กำหนดวัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้าน
ประเภทของการเยี่ยมบ้านแบ่งตามวัตถุประสงค์
ประเภทของการเยี่ยมบ้านตามสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
หน้าที่พยาบาลชุมชน
ด้านบริการ
ให้บริการเชิงรุกที่ตอบสนองต่อความต้องการในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้ความรู้และทักษะการพยาบาล
จัดบริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
ให้บริการการรักษาโรคเบื้องต้นได้ตามขอบเขตวิชาชีพ
เยี่ยมบ้านเพื่อให้บริการแก่บุคคลและครอบครัว
ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในการวางแผนดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ให้คำปรึกษา/แนะนำแก่ผู้รับบริการ
จัดทำแฟ้มครอบครัวและชุมชน
ประสานงานกับภาคเอกชนองค์กรต่างๆในชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วม
ด้านวิชาการ
ศึกษาและจัดทำคู่มือ
นิเทศ/สอน/เป็นพี่เลี้ยงให้ความรู้แก่นักศึกษาพยาบาล
เป็นวิทยากรอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการดูแลสุขภาพ
สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านต่างๆ
มีการดำเนินการวิจัยในพื้นที่
ด้านบริหารจัดการ
วางแผนการปฏิบัติงานในชุมชนให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน
จัดทีมให้บริการดูแลสุขภพอย่างต่อเนื่องเป็นทีมประจำ
ให้ความร่วมมือกับบุคลากร
พัฒนามาตรฐานการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ
จัดทำแผนพัฒนาและติดตามการประเมินผลงานด้านปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐาน
บทบาทพยาบาลชุมชน
บทบาทผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ
บทบาทผู้พิทักษ์ ผู้รับบริการทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับความคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ์ในการรับบริการ
บทบาทผู้จัดการรายกรณี
การประสานความร่วมมือกับบุคลากรในฝ่ายต่างๆ
บทบาทผู้นำ เป้าหมายคือการส่งเสริมให้ประชาชนมีพลานามัยสมบูรณ์
บทบาทผู้วิจัย การศึกษาวิจัยเป็นหนทางหนึ่งที่ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ
ให้บริการดูแลสุขภาพและการักษาพยาบาลทุกระดับ
กลุ่มผู้รับบริการทุกช่วงวัย
วัยเรียน
โรคติดเชื้อมักเป็นระบบทางเดินหายใจ ตา หู และผิวหนัง
โรคฟันและเหงือก
ปัญหาโภชนาการ
ปัญหาการเรียน สาเหตุของการเรียนไม่ดี
วัยผู้ใหญ่
ด้านร่างกาย
วัยหมดประจำเดือนหรือสตรีวัยทอง
การมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
รับประทานอาหารไม่เหมาะสม
การขาดการออกกำลังกาย
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
ด้านจิตใจ
วิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เสื่อมลง
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
มีภาวะเครียดจากปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัว
วิตกกังวลเกี่ยวกับชีวิตสมรส
ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาของบุตร
ด้านสังคม
ชีวิตสมรส
การปรับตัวให้เข้ากับบทบาทใหม่
การเลือกคู่ครอง
สัมพันธภาพกับเพื่อนใหม่
การปรับตัวในการประกอบอาชีพ
ด้านจิตวิญญาณ
มีความกดดันจากศักยภาพด้านสติปัญญา
ขาดที่พึ่งทางจิตวิญญาณ
วัยทารกและวัยก่อนเรียน
ปัญหาโรคติดเชื้อ ของระบบหายใจ
ปัญหาด้านโภชนาการ
ปัญหาด้านการเลี้ยงดูและพัฒนาการ ปัญหาพฤติกรรม
วัยสูงอายุ
ปัญหาทางด้านสุขภาพกาย
ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาทางด้านความรู้
ปัญหาทางด้านสังคม
ปัญหาทางด้านจิตใจ
ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว
ปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
วัยรุ่น
โรคติดเชื้อ ที่พบมากในวัยนี้คือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อุบัติเหตุและบาดเจ็บ
โรคมะเร็ง
ปัญหายาเสพติด
ปัญหาอาชีวะอนามัยและการบาดเจ็บจากงานอาชีพ
ทารกแรกเกิด (28 วันหลังคลอด)
การเกิดก่อนกำหนดและ/หรือทารกมีน้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย
ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทางด้านมารดา
ได้แก่ ภาวะตัวเหลือง ความพิการแต่กำเนิดเป็นต้น
กลุ่มผู้รับบริการเพื่อให้บริการสุขภาพที่บ้าน
การจัดลำดับรายเยี่ยม
หลักความจำเป็นเร่งด่วน
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อของโรค
การบริการสุขภาพที่บ้านและการเยี่ยมบ้าน
การวางแผนช่วยเหลือครอบครัว
ตามแนวทาง SOAP
การปฎิบัติตามแผน
วินิจฉัยปัญหาของครอบครัว
ภาวะคุกคามทางสุขภาพ
สภาวะวิกฤติ
ความบกพร่องทางสุขภาพ
การประเมินผล
ประเมินครอบครัว
การดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอด
การปฎิบัติตนของมารดาหลังคลอด
การรับประทานอาหาร
การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย
การดูแลรักษาเต้านมและหัวนม
แนะนำการมีเพศสัมพันธุ์
ส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
หลีกเลี่ยงการทำงาน ในระยะ 2 สัปดาห์แรกหลังคลอด
การดูแลรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การพักผ่อน
สังเกตอาการผิดปกติ
สังเกตแผลหน้าท้องจากการคลอด
สังเกตมดลูกอักเสบ น้ำคาวปลาจะมีสีแดงไหลอยู่นาน
สังเกตอาการเต้านมอักเสบ หรือเต้านมเป็นฝี
สังเกตหลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน
สังเกตภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
การส่งเสริมสุขภาพของทารก
การให้คำแนะนำมารดาในการดูแลทารก
การทำความสะอาดก้น
การถ่ายอุจจาระ
การขับถ่าย
การดูแลสะดือทารก
การให้นมบุตร
การทำความสะอาดเสื้อ ผ้าอ้อม
การอาบน้ำ
สังเกตภาวะปกติในทารกแรกเกิด
การมีจุดขนาดเล็กสีขาวนวล
การถ่ายอุจจาระบ่อย
การสะอึก
การไม่ถ่ายอุจจาระทุกวัน
ผื่นผ้าอ้อม
มีมูกหรือเลือดออกทางช่องคลอด
ลิ้นขาว
การบิดตัว
ผิวหนังลอก
ท้องผูก
การแหวะนม
การสะดุ้งหรือผวา
family folder
องค์ประกอบ
ผังเครือญาติในครัวเรือน
บันทึกข้อมูลภาวะสุขภาพที่สำคัญในการออกเยี่ยมบ้าน
ข้อมูลสภาวะความเป็นโรคเรื้อรังในหลังคาเรือน
การวินิจฉัยและตรวจสุขภาพของคนในครัวเรือน
แผนที่เดินดินที่ระบุตำแหน่งพิกัดหลังคาเรือน
ระบบการจ่ายยา เวชภัณฑ์ บริการของคนในครัวเรือน