Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Multiple Sclerosis ; MS โรคปลอกประสาทอักเสบ (อาการและอาการแสดง :!!:…
Multiple Sclerosis ; MS โรคปลอกประสาทอักเสบ
สาเหตุ :warning:
ระบบภูมิคุ้มกันทำลายปลอกประสาทที่ปกป้องใยประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง ส่งผลให้ปลอดประสาทอักเสบและเกอดแผลทีเนื้อเยื่อ :
ปัจจัยเสี่ยง :!:
เชิ้อชาติ : ชาวตะวันตก>ชาวไทย
อายุ : เกิดได้ทุกช่วงวัย ส่วนใหญ่พบในอายุ 15-60ปี
พันธุกรรม : ไม่ได้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยตรง แต่มีความเส่ี่ยงได้ประมาณร้อยละ 2-3
เพศ : หญิงมากกว่าชาย
การติดเชื้อไวรัส : โดยเฉพาะไวรัสเอ็บสไตบาร์หรืออีบีวี
โรคภูมิคุ้มกันทำลายตนเอง : โรคเกี่ยวกับไทรอยด์ เบาหวานชนิดที่
การสูบบุหรี่ : มีความเสี่ยงถึง 2 เท่า
การวางแผนจำหน่าย :checkered_flag:
ตามหลัก D-METHOD
D : Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรค Multiple Sclerosis ถึงสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง
M : Medicine แนะนำการใช้ยาอย่างละเอียดตลอดจนสังเกตผลข้างเคียงของยาด้วย
E : Environment จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสม เช่น ทางเดิน การวางของไม่เกะกะ
T : Treatment เฝ้าสังเกตอาการที่ผิดปกติ อาการที่แสดงถึงการแย่ลงของโรค
H : Health การส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ เช่น การออกกำลังกายให้เหมาะสม
O : Outpatient แนะนำให้มาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ การขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้านในกรณีเกดภาวะฉุกเฉิน
D : Diet รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ งดของมัน งดชา กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
พยาธิสภาพ :fire:
เป็นโรคทีมีการอักเสบของปลอกประสาททีหุ้มเส้นประสาทในส่วนของ สมอง เส้นประสาทตาและไขสันหลัง โดยปลอกประสาทมีหน้าทีสําคัญในการนํากระแสประสาท ซึงเมือมีการอักเสบของปลอกประสาทส่งผลให้การนํากระแสประสาทของอวัยวะนั้นผิดปกติ
อาการและอาการแสดง :!!:
รู้สึกเมื่อยล้าหรือเหนื่อยมากจนทำกิจกรรมต่างๆไม่ได้
เกิดอาการอ่อนแรง เหน็บชาตามแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งหรือใบหน้าเพียงซีกเดียว
มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
รู้สึกเจ็บจี๊ดคล้ายไฟช็อตเมื่อหันคอ
มีปัญหาเกี่่ยวกับการถ่ายหนักเบา
ค่อยๆสูญเสียการทรงตัว เดินหกล้มได้ง่าย
พูดไม่ชัด เคี้ยวหรือกลืนลำบาก
มีปัญหาเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศ
ซึมเศร้า วิตกกังวล หรืออารมืแปรปรวนอย่างรุนแรงกะทันหัน
การวินิจฉัย :check:
ตรวจระบบประสาทร่างกาย
ตรวจเลือด
เจาะน้ำไขสันหลัง
การทำ MRI
ตรวจการตอบสนองทางไฟฟ้าของระบประสาท
การรักษา :red_flag:
การรักษาแบบประคองอาการ
การออกกำลังกาย
การรับประทานอาหาร : ลดไขมัน กินิาหารที่มีกากใย
การรักษาด้วยยา
ยาคอร์ติโคสเตียรออย์ :ลดการอักเสบในร่างกาย ผลข้างเคียง นอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวน บวมน้ำ
ยาคลายล้ามเนื้อ : สำหรับผู้ป่วยที่กล้ามนื้อหดเกร็งหรือขยับกล้ามเน้อไม่ได้ เช่น Baclofen,Tizanidine
ยาแก้ปวด :
การพยาบาล :<3:
ส่งเสริมการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การเดิน การว่ายน้ำ
ดูแลให้ได้ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาต้านการบีบตัวของกล้ามเนื้อตามคำสั่งการรักษา
พยาบาลควรประมินอาการทางคลินิกที่ผิดปกติ โดยเแพาะอาการทางตาที่พบได้ง่าย