Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 4 LAN and WAN (LAN (มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบ LAN (ในการออกแบบการเชื…
Chapter 4 LAN and WAN
LAN
วิธีการควบคุมการเข้าใช้งานสื่อกลาง
เป็นข้อตกลงที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลผ่านสื่อกลาง
Node ทุก Node ต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน
Media Access Control (MAC) Method
CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
Token Passing
มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบ LAN
เพื่อให้การเชื่อมต่อระบบ LAN มีมาตรฐานและสามารถใช้งานได้ กว้างขวาง
มีการกําหนดมาตรฐานของระบบเครือข่าย โดยองค์กรกําหนด มาตรฐาน
นํามาประกอบกันเพื่อใช้งานที่แตกต่างกัน
IEEE802.3 (Ethernet)
ในการออกแบบการเชื่อมต่อระบบ LAN ต้องคํานึงถึง
สื่อกลาง (Media)
วิธีการเข้าใช้สื่อกลาง (Media Access Method)
ลักษณะของโครงสร้าง (Topology)
• IEEE802.11 (Wireless Local Area NetworkWLAN)
ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบ LAN
Network Operating System (NOS)
แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
(Network Interface Card-NIC)
เครื่องบริการและสถานีงาน
(Server and Workstation)
ระบบการเดินสาย (Cabling System)
ทรัพยากรและอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน
โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocol)
ข้อตกลงในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อให้แต่ละ
Workstation รับส่งข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง
โดยทั่วไปจะทํางานในระดับ Network
นิยมเรียกว่า โปรโตคอลสแตก
ทําหน้าที่ประสานงานระหว่าง NOS และ NIC
ชนิดการเชื่อมต่อของเครือข่าย LAN
เครือข่ายแบบเท่าเทียมกัน (Peer-to-Peer Networking)
เครือข่ายแบบพึ่งเครื่องบริการ (Server-based
Networking)
Server และ Workstation
Server (เครื่องบริการ) ทําหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ แก่สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งาน ใช้ ในการติดต่อเข้าเครือข่าย
Network Operating System (NOS)
ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานของเครือข่าย
โดยที่ NOS จะอยู่ที่เครื่อง Server
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
แต่ Workstation จะใช้ Software อีกตัว ในการติดต่อรับส่งข้อมูลกับ
Server
WAN
เครือข่ายส่วนตัว (Private Network)
เช่น องค์กรสาขาอาจทําการสร้างระบบเครือข่าย เพื่อ
เชื่อมต่อระหว่างสํานักงานใหญ่กับสาขาที่มีอยู
จัดตั้งระบบเครือข่ายเฉพาะองค์กรที่เป็นเจ้าของเครือข่ายอยู่
ใช้ช่องทางการสื่อสารข้อมูลสาธารณะ
เครือข่ายส่วนตัว
ข้อดี
การรักษาความลับของข้อมูล
สามารถควบคุมดูแลเครือข่ายและขยายเครือข่ายไปยังจุดที่
ต้องการ
ข้อเสีย
ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก
เครือข่ายสาธารณะ (Public Data Network)
นิยมใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายแบบ WAN
เนื่องจากค่าใช้จ่ายต่ํากว่าการจัดตั้งเครือข่ายส่วนตัว
สามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาจัดตั้งเครือข่าย
แตกต่างในราคา ความเร็ว ขอบเขตพื้นที่บริการ
เพื่อให้บุคคลทั่วไปหรือองค์กรอื่นๆ ที่ไม่ต้องการวาง
เครือข่ายเอง สามารถแบ่งเช่ากันใช้งานได้
เป็นเครือข่ายระยะไกล (WAN) ซึ่งองค์กรได้รับสัมปทาน
ทําการจัดตั้งขึ้น
บางครั้งเรียกว่า เครือข่ายมูลค่าเพิ่ม (Value Added
Network)
DSL (Digital Subscriber Line)
พัฒนาจากโครงข่ายโทรศัพท์แบบเดิม
สามารถใช้งานโทรศัพท์ควบคู่กับการสื่อสารผ่าน
โมเด็มได้ในขณะเดียวกัน
คือเทคโนโลยีโมเด็มที่สื่อด้วยสัญญาณดิจิตอล
ความเร็วสูง
ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)
ปัจจุบันใช้ Fiber Optic
ความเร็วในการส่งข้อมูล (Upstream) และรับข้อมูล
(Downstream) จะไม่เท่ากัน
ความเร็วสูงกว่าโมเด็ม 56K
เหมาะสําหรับผู้ใช้ตามบ้านเป็นหลัก ไม่เหมาะกับการนําไปใช้
ในภาคธุรกิจ
นาย อดิศร ละลี 60145059 เทศโนโลยีสารสนเทศ