Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dengue hemorrhagic fever (DHF) โรคไข้เลือดออก ((Ambroxo 2 tab vein tid. pc…
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับยา Ranitidine ½ x 2 oral ac เพื่อลดการระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะอาหาร
-
-
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดไข้ Paracetamal500 mg ½tab oral prn. ทุก 4-6hrตามแผนการรักษาของแพทย์
-
- ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของเด็กและแนวทางการรักษาพยาบาล
- อธิบายให้ญาติทราบทุกครั้งก่อนให้การพยาบาล
- ให้ความมั่นใจว่าผู้ป่วยจะได้รับการช่วยเหลือทันทีที่ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ
- อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบโดยย่อเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
- แนะนำตัวและสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและ
ญาติเพื่อให้เกิดความไว้วางใจให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
- ให้ผู้ปกครองอยู่ให้กำลังใจเด็กตลอดเวลา
- ก่อนให้สารน้ำหรือเจาะเลือดต้องอธิบายให้ผู้ป่วยที่ทราบในเด็กโตให้ร่วมตัดสินใจและตอบคำถามที่สงสัย
- ให้ความเป็นกันเองโดยทำความรู้จักและเรียกชื่อเล่นของเด็กแทนและแนะนำชื่อตนเองกับเด็ก
- ผู้ป่วยเด็กเสี่ยงมีภาวะ psychic trauma เนื่องจากกลัวการเจ็บปวดจากการให้สารน้ำ/การเจาะเลือด
- จัดผู้ป่วยอยู่รวมกันอย่างเป็นกลุ่มและดูแลไม่ให้ยุงกัด เช่น ใช้มุงลวด,ยากันยุง และแนะนำให้ผู้ป่วย/ญาติระวังยุงกัดในเวลากลางวัน.
- ดูแลสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย ไม่ให้มีน้ำขังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุง
- อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงการแพร่กระจายของเชื้อไข้เลือดออก
- สังเกตอาการขาดสารอาหารและเกลือแร่ เช่น อ่อนแรง ผอม ริมฝีปากแห้ง เกร็ง กระตุก
- ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามการรักษาของแพทย์5% D/NSS 1,000 ml vein 60 cc/hr
- จัดอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง5 หมู่ผักและผลไม้
- กระตุ้นการอยากอาหารด้วยการทำความสะอาดปากและฟันด้วยน้ำยาบ้วนปาก
- สังเกตและบันทึก อาการและอาการแสดงของการมีเลือดออกในทางเดินอาหาและปริมานการเสียเลือด เช่น ปวดท้อง อาเจียนเป็นเลือดสีดำหรือถ่ายอุจาระสีดำ
- วัด V/S ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อติดตามผล
-
-
- เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกง่ายเนื่องจากมีปริมาณเกล็ดเลือดต่ำ
- โอกาสเกิดภาวะขาดสารอาหารและเสียสมดุลของเกลือแร่จากไข้เลือดออก
- เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อสู่ผู้ป่วยอื่นเนื่องจากมีเชื้อไข้เลือดออกเดงกีในกระแสเลือด
-
-
-
- ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้สูง
- ไม่สุขสบายเนื่องจากจุกแน่นท้องและมีผื่นคันตามร่างกาย