โครงงานคอมพิวเตอร์

ความหมาย

โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ

โครงงานที่ประสบความสำเร็จ

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์

3.โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment)เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ

4.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจำวัน

2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ

5.โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน

1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา

การทำโครงงานออกเป็น 6 ขั้นตอน

  1. การจัดทำเค้าโครงของโครงงานที่จะทำ
  1. การลงมือทำโครงงาน
  1. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
  1. การเขียนรายงาน
  1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ
  1. การนำเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน

การจัดทำข้อเสนอของโครงงาน

  1. ออกแบบการพัฒนา มีการกำหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่างๆ
  1. ทำการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทำการพัฒนาส่วนย่อย ๆ
  1. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
  1. นำผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
  1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
  1. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา

ใช้เทคโนโลยีเป็น

สื่อสารได้ดี

ทำงานเป็นทีมได้

รู้จักปรับปรุงพัฒนางาน

ช่างอดทน

แก้ปัญหาเก่ง

วางแผนเก่ง

วางแผนเก่ง


เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

  1. วัตถุประสงค์
  1. สาระสำคัญของโครงการ

การเขียนบทคัดย่อมีหลักสำคัญ 3 ประการ

  1. มีความถูกต้อง (Precision)
  1. มีความชัดเจน (Clarity)
  1. มีความสั้น กระทัดรัดและกระชับ (Concision)

กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ควรมีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้


เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ และ/หรือ ฮาร์ดแวร์

ผู้เรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษา ค้นคว้า พัฒนา ด้วยตนเองตามความสนใจและระดับความรู้ความสามารถ

ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการพัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูล หรือประดิษฐ์คิดค้น

  1. ส่วนปก
  1. หลักการและเหตุผล
  1. ปัญหาหรือประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม
  1. เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
  1. ประวัติและผลงานวิจัยดีเด่นของผู้พัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  1. บรรณานุกรม
  1. รายละเอียดของการพัฒนา