Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รายงานการนำเสนอ PBL ครั้งที่ 2 (การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวง…
รายงานการนำเสนอ PBL ครั้งที่ 2
อาการของผู้ป่วยโรคจิตเภท
Positive
Delusion
หลงผิดว่าตนเองมีอำนาจ มีความสามารถพิเศษ หูแว่ว
Hallucination
ประสาทหลอน หูแว่ว
Disorganized Thinking
มีการเปลี่ยนเรื่อง
Negative
Avolition
ไม่ดูแลตนเอง ปล่อยให้โทรม ไม่เข้าร่วมสังคม
Anhedonia
ขาดความร่าเริง
Asociality
ไม่เข้าสังคม
Cognitive
การตีความจากสิ่งต่างๆ และการตอบสนองบกพร่อง ตีความผิด
Effective
วิตกกังวล หงุดหงิด ก้าวร้าว ขาดทักษะในการเผชิญปัญหา
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ Frued
โครงสร้าง
Ego
การทำงานทางด้านจิตใจ
ID
แรงขับทางสัญชาตญาณ
Super ego
ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
ภาวะสมดุลคือ Id Ego และ Super Ego ทำงานประสานกัน จากกรณีศึกษา Ego ไม่สามารถปรับ ID และ Super Ego ให้สมดุลได้
การพัฒนาบุคลิกภาพ 5 ระยะ
Oral stage
Fixation
มีพฤติกรรม สูบบุหรี่
Phallic stage
Fixation
ก่อนมีสามี มีผู้ชายหลายคน
Anal stage
latency stage
Genital stage
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหวาดระแวง
ประเมินระดับความรุนแรง
สร้างความไว้วางใจ ในการติดต่อผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว
ไม่โต้แย้ง
ผู้ที่หวาดระแวง พยาบาลต้องจัดบรรยากาศ และให้ความจริงกับผู้ป่วย ให้เหตุผลเพื่อผู้ป่วยจะไม่กังวล
ให้ผู้ป่วยทำกิจกรรม
ผู้ป่วยที่มีความโกรธควรใช้วิธีผ่อนปลน
ผู้ป่วยที่หวาดระแวง หลีกเลี่ยงการจ้อง การกระซิบ
แสดงความเห็นใจ
ดูแลการรับประทานยา
ดูแลจิตใจผู้ป่วยและญาติ
ประสาทหลอน
Auditory Hallucination
หูแว่ว
คือความผิดปกติทางประสาท สารสื่อประสาทผิดปกติ ติดสารเสพติด
Olfactory hallucination
การรับกลิ่นผิดปกติ
General somatic hallucination
Hallucination Of posture
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
คือ ภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเผชิญปัญหาและแก้ไขปัญหานั้นไม่ได้ ทำให้เกิดความรู้สึกเครียด กดดันและไม่สามารถปฏิบัติภารกิจต่างๆได้
อาการ
ตบตี ทะเลากัน
ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้
ระยะของการเกิด
ระยะที่ 1 ก่อนวิกฤต รับรู้ หาทางแก้ไข
ระยะที่ 2 ระยะรับรู้เหตุการณ์ แก้ปัญหาไม่ได้ เครียดกังวล
ระยะที่ 3 ระยะวิกฤต ระดมพลังแก้ปัญหาเพื่อแก้ไข
ระยะที่ 4 ระยะหลังวิกฤต เกิดปัญหาสุขภาพจิต
การบำบัดทางจิตสังคม
เน้นการปรับความคิดอัตโนมัติทางลบ ความเชื่อ
ฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ให้สุขภาพจิตศึกษา
เน้นการฝึกทักษะที่จำเป็นพื้นฐาน
การบำบัดใช้ชีวิตในชุมชน
ใช้สัมพันธภาพและสิ่งแวดล้อมบำบัด
เน้นการกระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าใจในบทบาทหน้าที่
การบำบัดเพื่อเน้นพฤติกรรม
การบำบัดที่เน้นการดูแลช่วยเหลือให้ผู้ดูแลมีสุขภาพจิตที่ดี
การป้องกันการเกิดอาการกำเริบ
แนวทางในการแก้ไขปัญหาในครอบครัว
บุคคลในครอบครัวควรที่จะแสดงบทบาทของตนเองให้เหมาะสม
หลีกเลี่ยงความรุนแรงในครอบครัว
รับฟังและร่วมกันแก้ไขปัญหา
ให้ความสนใจกับคนในครอบครัว
ไม่ควรอธิบายให้ผู้ป่วยยอมรับความเป็นจริง ควรรับฟัง และแสดงความเข้าใจ