Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (ลักษณะของสารสนเทศที่ดี…
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
เข้าถึงได้ง่าย
ต้องมีความสมบูรณ์
ตรวจสอบได้
มีความน่าเชื่อถือ
ทันต่อความต้องการใช้
ต้องมีความถูกต้อง
มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
พิจารณาาเเหล่งที่มาของสารสนเทศ
พิจารณาผู้เเต่ง
พิจารณาสำนักพิมพ์หรือเเหล่งผลิต
พิจารณาช่วงเวลาที่เผยเเพร่
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้องของสารสนเทศ
ความเที่ยงตรง
การเลือกใช้สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
การสังเคราะห์สารสนเทส
การประเมินสารสนเทศ
การประเมินสารสนเทศ
ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ
เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ
หลักการประเมินสารสนเทศ
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
พิจารณาว่าเนื่อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด
พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างเเท้จริงหรือไม่
ความหมายของการประเมินสารสนเทศ
การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุม
การวิเคราะห์สารสนเทศ
กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ
ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น
ทำการบันทึกเนื้อหาลงในบัตรบันทึก
อ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ
นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นเเนวคิด
ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
พิจารณาเนื่อหาสารสนเทศ
บันทึกสารสนเทศ
อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
จัดกลุ่มเนื้อหา
ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ
กระบวนการเเยกเเยะสารสนเทศที่สำคัญเเละสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกกเป็นกลุ่มย่อย
บัตรบันทึกความรู้
ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้
เเหล่งที่มาของข้อมูล
เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล
หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า
ข้อความที่บันทึก
วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา
เเบบคัดลอกข้อความ
เเบบถอดความ
เเบบย่อความ
การสังเคราะห์
การจัดการสารสนเทศโดยทั่วไป
ตามลำดับเวลา
ตั้งเเต่ต้นจนจบ
เรียงตามลำดับอักษร
ใช้หลายๆวิธีข้างต้นผสมผสานกัน
จัดกลุ่ม
กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ
นำมารวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
ประเมินโครงร่างที่ได้
นำมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีเเนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกัน
กรณีไม่ครบถ้วนต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการเเสวงหาคำตอบใหม่
การสังเคราะห์ คืออะไร
เเล้วรวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล
นำเสนอในรูปเเบบที่เหมาะสม
ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่ม
เพื่อเเก้ไขปัญญาหา ตอบคำถามที่กำหนดไว้
เเล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้งในรูปลำดับชั้น
นำไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ
การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน
การเขียนโครงร่าง
เนื้อหา
บทนำ
บทสรุป