Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 เศรษฐศาสตร์ด้านวิศวกรรม :star: (การแยกประเภทต้นทุน…
บทที่ 5 เศรษฐศาสตร์ด้านวิศวกรรม
:star:
การบัญชีต้นทุน
ด้านการวางแผน
การบัญชีต้นทุนช่วยประมาณต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรง ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าใช้จ่ายในการขาย เพื่อวางแผนงบประมาณในอนาคต
ด้านการควบคุม
นำผลจากการดำเนินงานปัจจุบันมาเปรียบเทียบต้นทุนที่ตั้งใว้ เพื่อควบคุมต้นทุนจริงให้มีค่าใกล้เคียงกับที่วางแผน ถ้าเกิดข้อบกพร่องจะได้นำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์
การแยกประเภทต้นทุน
พิจาณาความสัมพันธ์ระหว่าง ต้นทุนกับวัตถุประสงค์
ตามการเปลี่ยนแปรงในกิจกรรม
มักจะเท่ากันเสมอไม่ว่าจะผลิตอยู่ในช่วงปกติ กลาง หรือสูง
เมื่อผลิตเพิ่ม1หน่วย ต้นทุนก็จะเพิ่มจำนวนหนึ่ง
คือต้นทุนผันแปร แต่อัตราส่วนจะไม่คงที่เมื่อถึงช่วงหนึ่งของกิจกรรม
คือต้นทุนคงที่ ที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อระดับสูงขึ้นกว่าที่กำหนด
ต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วย
ผมรวมของต้นทุนทั้งหมดในระดับกิจกรรมที่ได้ดำเนินงานโดยทั่วไปจะคำนึงถึงต้นทุนรวมมากกว่า แต่ถ้าวิเคราะห์ให้ลึกซึ้ง ต้นทุนต่อหน่วยก็สำคัญมาก เพราะต้องคำนึงเสมอว่า "ต้นทุนคงที่ต่อหน่วยจะผันแปร" ส่วน "ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยจะคงที่"
ต้นทุนตามความรับผิดชอบ
เป็นหลักของการควบคุมคุมต้นทุนที่จะต้องรู้ว่าต้นทุนเกิดขึ้น ณ ที่ใดใครเป็นผู้รับผิดชอบต้นทุนของแผนกสู่แผนการผลิต
ต้นทุนตามสายผลิตภัณฑ์
เพื่อหาความสามารถในการทำกำไรของสายผลิตภัณฑ์ ปัญหาคือ ต้นทุนหลายชนิดไม่อาจระบุให้เข้ากับหนึ่งผลิตภัณฑ์ได้โดยตรง อาจจจเรียกต้นทุนนี้ว่า ต้นทุนทางออ้ม
ทางอ้อม
ต้นทุนที่ไม่อาจระบุเข้ากับสายผลิตภัณฑ์แผนกหนึ่งได้ดดยตรง
ต้นทุนตามลักษณะธรรมชาติและตามหน้าที่
ตามธรรมชาติ
กล่าวถึงลักษณะทางกายภาพของต้นทุน เช่น วัสดุ แรงงาน
ตามหน้าที่
ต้นทุนจะถูกใช้ไปอย่างไร เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายบริหาร ฝ่ายขาย
ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต
ต้นทุนการผลิต
ความหมาย :
ต้นทุนของโรงงานที่เกี่ยวข้องโดยทางตรงหรือทางอ้อม ถึงการผลิตผลิตภัณฑ์
วัสดุทางตรง
ความหมาย
วัตถุดิบที่เป็นส่วนสำคัญของการผลิตไม่รวมวัสดุย่อยที่มีมูลค่าน้อย เช่น ผลิตโต๊ะ ไม้เป็นทางตรง ตะปูเป็นทางอ้อม
แรงงานทางตรง
ความหมาย
ค่าแรงของบุคคลที่มีหน้าที่นการผลิตโดยตรง เช่น ค่าแรงคนคุมเครื่องคือทางตรง ค่าบำรุงเครื่องจักรคือทาอ้อม
ค่าใช้จ่ายในโรงงาน หรือ โสหุ้ยการผลิต
ความหมาย
ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่ไม่ใช่ข้อข้างต้น
ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร
วัสดุสิ้นเปลือง
แรงงานทางอ้อม
ค่าใช้จ่ายโรงงานคงที่
ค่าเช่า
ค่าประกันภัย
ภาษีโรงเรือน
เงินเดือนผู้ควบคุมงาน
ประะภทต้นทุนการผลิต
ต้นทุนงานสั่งทำ
ต้นทุนที่มารถระบุเจาะจงลงได้ว่าวัถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง โสหุ้ย เป็นของสินค้าอันใด
ต้นทุนการผลิตเป็นช่วง
ต้นทุนการผลิตในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เช่น เคมี น้ำมัน อุตสาหกรรมเหล่านี้มีการผลิตเป็นช่วงๆ และผลิตทีละเยอะๆ
ต้นทุกนสำหรับการตัดสินใจ
เป็นต้นทุนในอนาคต แสดงให้เห็นว่ามีสิ่งใดบ้างที่คาดว่าจะเกิดภายใต้สถาการณ์ที่กำหนดและเป็นต้นทุนที่จัดทำขึ้นเฉพาะกรณี
ต้นทุนส่วนเพิ่ม คือ ต้นทุนที่เปรียบเทียบกับทางเลือกทาง
ต้นทุนจม คือ ต้นทุนที่เกิดในอดีต ไม่สามารถแก้ไขได้
ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ คือ ต้นทุนที่ยังอยู่ต่อไป ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก
ต้นทุนสูญเสียโอกาส คือ ผลประโยชน์ หรือ กำไรที่ควรได้รับ แต่ไม่ได้รับ ที่มีผลจากการผลิต
มูลค่าของเงินตามเวลา
เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนซึ่งได้สินค้าและบริการที่เราต้องการ
เพื่อใช้จ่ายยามเกิดเหตุการณ์คับขันไม่คาดคิดว่าจะเกิด
เพื่อใช้ลงทุน ทำเงินให้เกิดดอกผล มีเงินเพิ่มพูล
ตามหลักเศรษฐศาสตร์ มูลค่าของเงินตามเวลา ไม่เกี่ยวข้องกับ เงินเฟ้อ
ดอกเบี้ย คือ ผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนใน 1 ปี
การกำหนดอัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราผลตอบแทนต่ำสุด เราต้องทราบก่อนว่าแหล่งของเงินทุนมาจากไหน ตามปกติ แหล่งของเงินทุนจะมาจาก 2 แหล่ง คือ กู้ และเงินส่วนตัว