Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางประชากร (การมองปัญหา (มุมมอง 5 (ต้องการคุมการเกิดประเทศด้…
การเปลี่ยนแปลงทางประชากร
ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงในขนาด(จำนวน) โครงสร้าง(อายุ) และการกระจายตัว(ความหนาแน่น)
ปัจจัยสำคัญ
การตาย
การย้ายถิ่น
การเกิด
ขนาดประชากรโลก
ภาวะการเกิด
ภาวะการตาย
ขนาดประชากรของประเทศ
ภาวะการเกิด
ภาวะการตาย
การย้ายถิ่น
สมการสมดุล
P2-P1 = B-D+I-O
หลักเกณฑ์ที่ใช้วัด
ดัชนีที่ 1
ร้อยละของการเปลี่ยนแปลง
(P2-P1 / P1) * 100
P2 คือ ประชากรของพื้นที่ ณ จุดสุดท้ายของระยะเวลา
P1 คือ ประชากรของพื้นที่ ณ จุดแรกของระยะเวลา
ดัชนีที่ 2
การเพิ่ม(หรือลดลง) ทางธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะการเกิดและตาย
ใช้กับพื้นที่หรือสังคมที่การย้ายถิ่นไม่มีอิทธิพลต่อการเพิ่มประชากร
Natural increase = B - D
Nat = (B - D / P)*100
ดัชนีที่ 3
อัตราการเพิ่มทางประชากร
Geometric
Arithmetic
Exponential growth rate
r = log(P2 / P1) / t log e
ส่งผลกระทบ
โครงสร้าง
ปัจจัยตายและย้ายถิ่น ไม่มีผลต่อโครงสร้าง
แบ่งออกเป็น
วัยทำงาน (15 - 59 ปี)
วัยผู้สูงอายุ (60+ หรือ 65+ ปี)
วัยเด็ก (0 - 14 ปี)
ปัจจัยเกิด มีผลต่อโครงสร้าง
อายุกลาง
ศ.โคล
อายุกลางสูง อัตราการเกิดต่ำ
อายุกลางต่ำ อัตราการเกิดสูง
ความเป็นมา
ประเทศพัฒนาแล้ว
อัตราการเกิดต่ำ
อัตราการตายต่ำ
ปัญาหาผู้สูงอายุ
ประเทศด้อยพัฒนา
อัตราการเกิดสูง
อัตราการตายต่ำ
ปัญาหาวัยเด็ก
ประเทศไทย
พ.ศ 2480 ประชากรมีประมาณ 14.4
ทำสำมะโนครั้งแรกพบว่ามีประชากรประมาณ 8.2 ล้านคน
หลังจากมีนโบายการชะลอการเพิ่มประชากร
มีการคุมกำเนิด
โครงสร้างอายุเริ่มเปลี่ยนแปลง
การเกิดลดต่ำลง
ผู้สูงงอายุมีจำนวนและสัดส่วนสูงขึ้น
ประชากรวัยเด็กลดลง
การแต่งงานของหนุ่มสาว สมัยใหม่
แยกครัวเรือน
พ่อแม่ชราอยู่ตามลำพัง
รัฐบาล หน่วยงาน สังคม มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
การมองปัญหา
มุมมอง 1
อัตราการเพิ่มที่รวดเร็ว
ทรัพยากรไม่เพียงพอ
พยายามให้อัตราการเพิ่มประชากรเป็นศูนย์
มุมมอง 2
การเพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการบริการ
การวางแผนครอบครัว
การคุมกำเนิด
มุมมอง 3
ปัญหาทางสังคม
เช่น
ความยากจน
ความแตกต่างระหว่างคนรวยและจน
พัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศให้มีประสิทธิภาพ
มุมมอง 5
ต้องการคุมการเกิดประเทศด้อยหรือกำลังพัฒนา
การคุมการเกิดเป็นความคิดของประเทศที่พัฒนาแล้ว
มุมมอง 4
เพิ่มประชากรเป็นสิ่งดีในการพัฒนาประเทศ
กระตุ้นให้เกิดการผลิตเพิ่มขึ้น