Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA Rectum มะเร็งลำไส้ตรง (การวินิจฉัย (การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT…
CA Rectum มะเร็งลำไส้ตรง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-
-
ด้านการรับประทานอาหาร
ทานอาหารที่มีเส้นใยน้อย
fiberที่ละลายน้ำได้ จะดูดซับน้ำเข้ามาเกิดเป็นสารที่เหนียวข้นและไปจับกับน้ำดี ทำให้ปริมาณน้ำดีลดลง การดูดซึมคลอเลสเตอรอลลดลง และลดการดูดซึมน้ำตาล
-
ทานอาหารที่มีไขมันสูง
กระตุ้นให้เกิดการหลั่งกรดน้ำดี แบคทีเรียในลำไส้จะเปลี่ยนสารเหล่านี้ให้เป็น cholesterol metabolites และ secondary bile acid เกิดการระคายเคืองเยื่อบุของผนังลำไส้ กระตุ้นให้เกิดการแบ่งตัวของเยื่อบุผนังลำไส้มากขึ้น
ผู้ป่วยชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เช่น เนื้อหมูติดมัน เมนูอาหารที่ทำเป็นประจำคือ แกงเผ็ดหมูติดมัน
-
พฤติกรรมการดำเนินชีวิต
-
-
-
ผู้ป่วยมีอาชีพปลูกผัก พ่นยาฆ่าแมลงทุกอาทิตย์ โดยไม่ได้ป้องกัน บางครั้งใส่แต่เสื้อแขนยาวเวลาฉีดยาฆ่าแมลง
-
การวินิจฉัย
-
-
-
-
การตัดชิ้นเนื้อ (biopsy) เป็นวิธีการวินิจฉัยมะเร็งลำไส้ใหญ่ที่แม่นยำที่สุด และเพื่อการตรวจทางชีวโมเลกุลของมะเร็ง
-
-
Stage
-
ระยะจิตใจ
ระยะที่ 2 โกรธ
ใครทำอะไรไม่ ค่อยถูกใจ โกรธง่าย โกรธที่ตนเองกำลังจะสูญเสียทุกอย่างในชีวิต คิดว่าตนนั้นโชคร้ายกว่าใครๆทั้งหมด
-
-
ระยะที่ 4 ซึมเศร้า
การชวนคุยหรือเบนความสนใจมักไม่ได้ผล การนั่งเป็นเพื่อนเงียบๆ สัมผัสมือ เบาๆ ให้การพยาบาลอย่างสุภาพอ่อนโยน
-
ผู้ป่วยอยู่ในระยะปฏิเสธ เวลาพูดคุยถึงเรื่องโรคจะร้องไห้ เวลาตื่นมาแล้วไม่เจอใครก็จะร้องไห้ มักจะบอกว่าอยากกลับบ้านไม่ได้เป็นอะไรแล้ว
-
พยาธิสภาพ
มะเร็งลำไส้ตรง ส่วนใหญ่ก้อนโตเร็วและก่อให้เกิดอาการจากก้อนมะเร็งที่โตขึ้นไปกดเบียดอวัยวะใกล้เคียงหรือลำไส้ใหญ่อุดตัน
การลุกลามของมะเร็งไปทำลายเนื้อเยื่อปกติและหลอดเลือดเกิดเป็นแผลและสูญเสียเลือด เมื่อมะเร็งลุกลามทำให้เกิดการแตกทะลุของลำไส้ใหญ่และแพร่กระจายไปยังอวัยวะที่อยู่ไกล
-
-
1.การเปลี่ยนแปลง จาก adenoma ไปเป็น adenocarcinoma (adenoma-carcinoma sequence) ซึ่งเกิดจากการผ่าเหล่า (mutation) และการยับยั้ง การทำงาน (inactivation) ของ tumor suppressor genes และ protooncogene ต่างๆ โดยเริ่มจาก Adenomatous polyposis coli (APC) gene เป็นลำดับแรก (first hit) ซึ่ง APC เป็น tumor suppressor gene ทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของ β-catenin โดย β-catenin เป็นโปรตีนทำหน้าที่กระตุ้นการถอดรหัส (transcription) ของ MYC และ cyclin D1 ซึ่งทำหน้าที่กระตุ้น การแบ่งเซลล์ ดังนั้นหากเกิด mutation ของ APC gene จึงไม่มีตัวยับยั้งการทำงานของ β-catenin ทำให้เกิดการแบ่ง เซลล์มากผิดปกติ
2.เกิดจากความ บกพร่องของกระบวนการซ่อมแซม DNA (mismatch repair) ซึ่งทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องและซ่อมแซมความผิดปกติ ในกระบวนการจำลองแบบ DNA (DNA replication) โดย ยีนที่เกี่ยวข้องกับ mismatch repair (MMR) ได้แก่ MLH1, MSH2, PMS2 และ MSH6 หากเกิดความผิดปกติของยีน ดังกล่าวเพียงยีนเดียวหรือหลายยีนจะทำให้เกิดการเพิ่มลำดับ เบสของดีเอ็นเอซ้ำกัน 12 - 100 เท่า เรียกว่า microsatellite instability (MSI) ผลที่ตามมาคือระบบตรวจสอบความถูกต้อง ของยีนที่สร้างใหม่ไม่สามารถทำงานได้ ยีนที่สร้างขึ้นมาใหม่ จึงเกิดความผิดปกติและอาจกลายเป็นมะเร็งได้
อาการและอาการสำคัญ
ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระเป็นเลือดสดออกมาทางทวารหนักและอุจจาระก้อนเล็กลง มีอาการแน่นท้อง ท้องผูก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลงจาก 84 กิโลกรัม เหลือ 54 กิโลกรัม ภายใน 6 เดือน
-
-
-
-
-
อ่อนเพลีย(เสียเลือดอย่างเรื้อรังจากก้อนมะเร็งจนทำให้เกิดภาวะโลหิตจากอย่างรุนแรง) ผอมลง เบื่ออาหาร มักจะพบในผู้ป่วยที่มะเร็งกระจายหรือลุกลามไปมากแล้ว
เมื่อ 6 เดือนก่อนมีอาการท้องผูก ท้องอืด กินอาหารไปก็แน่นท้อง ไม่ถ่ายประมาณ 1 เดือน ผู้ป่วยจึงไปหาหมอที่คลินิกใกล้บ้าน เพื่อซื้อยาระบายมารับประทาน หลังกินยาก็ถ่าย พอหยุดกินก็ไม่ถ่าย และต่อมามีอาการถ่ายอุจจาระเป็นเลือดสดและมีเลือดปนมากับน้ำปัสสาวะ
การรักษา
รักษาโดยการผ่าตัด
ตัดเอาก้อนมะเร็งออก เพื่อไม่ให้เกิดภาวะลำไส้อุดตัน และระงับอาการ ตัดต่อมน้ำเหลืองและบริเวณใกล้เคียงออก
-
รังสีรักษา
ฉายรังสีเพื่อฆ่าหรือทำลายเซลล์มะเร็ง เป็นวิธีการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลายที่ใช้ควบคู่กับการผ่าตัด
มักใช้ระยะเวลาประมาณ 5-6 สัปดาห์ โดยฉายวันละ 1 ครั้ง ฉายติดต่อกัน 5 วันใน 1 สัปดาห์หรือหยุดตามวันราชการและวันเสาร์-อาทิตย์ เป็นต้น
ผลข้างเคียง
ท้องร่วง ผลต่อผิวหนังบริเวณที่ถูกรังสี รังสีจะไปกดการทำงานของไขกระดูก ผู้ป่วยจะรู้สึกเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ไม่มีแรง และความรู้สึกรับรสอาหารผิดปกติ
ลดโอกาสที่มะเร็งจะเกิดในอุ้งเชิงกราน จึงใช้ร่วมกับการผ่าตัดมะเร็งระยะที่ 2 และ 3 ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการกลับมาของมะเร็งสูง
เคมีบำบัด
ให้ก่อนการผ่าตัดและ/หรือหลังผ่าตัดร่วมกับรังสีรักษาหรือไม่ก็ได้ การใช้เคมีบำบัดก็จะขึ้นกับข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ไม่จำเป็นต้องให้ในผู้ป่วยทุกราย แพทย์จะพิจารณาเป็นรายๆ ไป
-
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ ท้องร่วง ปากเปื่อย ผื่นตามผิวหนัง ผมร่วง กดการทำงานของไขกระดูก การทำงานของตับผิดปกติ เดินเซ อารมณ์ขุ่นมัว
-
-
Cycle ที่ 3 ไม่ได้รับ Chemotherapy เนื่องจาก Admit ด้วย ischemic stroke วันที่ 17 ก.ย. 2561
*มีแพลนให้ Chemotherapy cycle ที่ 3 เดือนตุลาคม
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 59 ปี เป็นมะเร็งลำไส้เมื่อ 4เดือนก่อน ได้รับการผ่าตัด และให้เคมีบำบัดมา2ครั้ง(ครั้งละ5วันห่าง1เดือน) และนัดให้เคมีบำบัดครั้งที่ 3 วันที่ 22ก.ย.61 แต่มีอาการ Stoke จึงเลื่อนนัดการให้เคมีบำบัดครั้งที่3ไปอีก1เดือน ข้างหน้า
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
-
การทะลุของลำไส้
เป็นการอักเสบที่มีลักษณะเป็นก้อนเฉพาะที่ การทะลุอย่างเฉียบพลัน ทำให้เกิดโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบเฉียบพลัน
-
ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนไปที่กระเพาะปัสสาวะทำให้มีการอุดกั้นที่ระบบทางเดินปัสสาวะ จึงต้องใส่ foley’s catheter ตลอดเวลา ไม่สามารถเบ่งถ่ายปัสสาวะเองได้
ระบาดวิทยา
ในประเทศไทย
-
-
-
อัตราเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลำไส้อักเสบบางชนิด (Crohn’s disease และ Ulcerative colitis) ผู้ที่มีประวัติมีติ่งเนื้องอก (Polyp) ในลำไส้ใหญ่ หรือมีประวัติโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ในครอบครัว
ต่างประเทศ
ในสหรัฐอเมริกา ประชากรมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งลำไส้ตรงตลอดชีวิตประมาณร้อยละ 6 หรือ 1 ต่อ 20 ของประชากร
-
ประมาณการว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้น 138,000 รายต่อปี และจะมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ตรงประมาณ 60,000 คนต่อปี
วิธีการป้องกัน
การตรวจคัดกรอง
-
ผู้ที่มีประวัติมะเร็งลำไส้ใหญ่ในครอบครัว ควรเริ่มตรวจคัดกรองที่อายุ 40 ปีหรือที่อายุ 5 ปีก่อนอายุของคนในครอบครัวที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ตรง
ผู้ที่มีประวัติเป็นลำไส้อักเสบชนิด Crohn’s disease และ Ulcerative colitis หรือ ผู้ป่วยที่มีติ่งเนื้องอกจำนวนมาก (Polyposis Coli) การตรวจอาจเริ่มในอายุที่เร็วขึ้นโดยสามารถปรึกษาแพทย์
-
-
ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารเคมี ยาฆ่าแมลง ฝุ่น ควันหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรสวมเครื่องป้องกัน เช่น สวมMask ใส่เสื้อแขนยาว ไปอยู่เหนือลม
-
-