Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข (การสื่อสารข้อมูล (องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของร…
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข
ทิศทางและสื่อกลางการส่งข้อมูล
ทิศทางการส่งข้อมูล
2.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน
3.การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
1.การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว
สื่อกลางการสื่อสารข้อมูล
1.สื่อกลางแบบสาย
1.1 สายคู่บิดเกลียว (twisted pair
1.2สายโคแอกเชียล (coaxial cable)
1.3 ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)
2.สื่อกลางประเภทไร้สาย
2.1คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio)
2.2ไมโครเวฟ (Microwave)
2.3อินฟราเรด (Infrared)
การสื่อสารข้อมูล
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission)
ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
1.ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล
(Sender)
ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล
(Receiver)
ข่าวสาร (Massage)
4.สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล
5.โปรโตคอล
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
1.สัญญาณแอนะล็อก (analog signal)
2.สัญญาณดิจิตอล (digital signal)
วิธีการสื่อสารข้อมูล (Data Transmission)
1.การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission)
2.การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission)
ชนิดและลักษณะ
ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ลักษณะของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.Client-Server
Network
2.Peer-to-Peer Network (P2P
network)
1.ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.1เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (Personal Area Network :
PAN)
1.2 เครือข่ายเฉพาะที่ หรือแลน (Local Area Network:
LAN)
1.3เครือข่ายนครหลวง หรือแมน
1.4เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network:
WAN)
สถาปัตยกรรมและอุปกรณ์เครือข่าย
สถาปัตยกรรมของระบบเครือข่าย
1.โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
3.โทโปโลยีรูปดาว (Star Topology)
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย
หากมีโหนดใดเกิดความเสียหายก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และเนื่องจากใช้อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่งข้อมูล
1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ใดในระบบไม่กระทบต่อการทำงานของจุดอื่นๆ ในระบบ
ง่ายในการให้บริการเพราะโทโปโลยีแบบดาวมีศูนย์กลางทำหน้าที่ควบคุม
ข้อเสีย
ถ้าสถานีกลางเกิดเสียขึ้นมาจะทำให้ทั้งระบบทำงานไม่ได้
ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมากกว่าโทโปโลยีแบบบัส และ แบบวงแหวน
4.โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)
5.โทโปโลยีแบบตาข่าย (Mesh Topology)