Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหอบหืด (การวินิจฉัยโรค (ประวัติโรคภูมิแพ้…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง(ไอนานมากกว่า 8 สัปดาห์ขึ้นไป)
การหายใจออกลำบากกว่าการหายใจเข้า
หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก หายใจมีเสียง wheezing
ในขณะหอบ จะหายใจลำบากต้องใช้กล้ามเนื้อที่คอและไหล่ในการช่วยหายใจ
หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาที เหงื่อออกมาก
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
มารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (preeclampsia)
ความดันโลหิตสูง (hypertension)
มารดาเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจับหืด (asthmatic attack)
สูญเสียเลือดจากการทำหน้าที่ของมดลูก (Uterine hemorrhage)
ทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ์ (intrauterine growth restriction)
ตายปริกำเนิด
คลอดน้ำหนักตัวน้อย (low birth weight)
พิการแต่กำเนิด
คลอดก่อนกำหนด
มีภาวะพร่องออกซิเจน
อาจเสียชีวิตจากการขาดออกกซิเจน
มีโอกาสเป็นโรคหอบหืดได้ร้อยละ 50 จากการถ่ายถอดทางพันธุกรรม
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง และใช้ยาได้อย่างปลอดภัยในขณะที่ให้นมบุตร
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ในน้ำนมมารดามี IgA สูง จะช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ที่เกิดจากมารดาเป็รโรคหอบหืดได้ร้อยละ 10
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการส่งเสริมการพักผ่อน ไม่กระตุ้นให้อาการของโรคกำเริบ
ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดปกติทั่วไป เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ในรายที่มีอาการไม่มาก และได้รับการรักษาแบบ OPD case
ในการมารับบริการตรวจครรภ์ของสตรีมีครรภ์ทุกครั้ง ให้ประเมินสภาวะความแข็งแรงของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว
ตรวจวัดความดันโลหิต และตรวจโปรตีนในปัสสาวะ ตลอดจนอาการบวม
การวัดขนาดมดลุกว่าสัมพันธ์กับอายุครรภ์หรือไม่
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยงสารที่แพ้ที่ทำให้มีอาการหอบหืด อย่าอยู่ในที่ที่มีอากาศร้อนหรือเย็นเกินไป
รับประทานยาหรือพ่นยาตามแผนการรักษา
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ดื่มน้ำมากๆ พักผ่อนให้มากขึ้น
ทำงานบ้านเบาๆได้ หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ หลังการรับประทานอาหารทุกมื้อภายใน 1 ชั่วโมง ต้องดิ้นไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง หรือดิ้นอย่างน้อย 10 ครั้งภายใน12ชั่วโมง
ในรายที่มีอาการรุนแรง Admit
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และในขณะให้ยาต้องสังเกตอาการ เช่น BPลดลงอย่างรวดเร็ว ปวดศีรษะ ใจสั่น ให้หยุดยาและรีบรายแพทย์ทันที
จัดท่านอนศีรษะสูง หรือนอนฟุบบนโต๊ะคร่อมเตียง และให้ออกซิเจนทันทีเมื่อมีอาการหอบ
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ เยื่อบุตาและผิวหนังว่ามีสีเขียวหรือไม่ แสดงถึงภาวะการขาดออกซิเจนในส่วนปลาย
สังเกตความถี่ของการไอ สี จำนวนลักษณะของเสมอหะ ความเหนียว และฟังปอดด้วย
สอนการหายใจให้กับผู้ป่วยโดยการหายใจเข้าช้าๆให้เต็มปอด การหายใจออกให้เป่าออกทางปากช้าๆ
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ เมื่อน้ำหนักตัว ปริมาณน้ำในร่างกาย ปริมาณของเลือด เกลือโซเดียมในร่างกายเพิ่มขึ้น
ส่งผลให้หัวใจทำงานมากขึ้น จะพบอาการหายใจลำบากได้โดยเฉพาะเวลานอน
ช่วงท้ายของการตั้งครรภ์จะพบว่ามฃปริมาตรของอากาศที่เหลือค้างในปอดจากการหายใจออกตามปกติ ทำให้เนื้อที่ในปอดบางส่วนไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้สมบูรณ์ ซึงจะทำให้อาการของโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น
การวินิจฉัยโรค
ประวัติโรคภูมิแพ้ ประวัติการเจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคหอบหืด
ตรวจร่างกายจะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi ที่ปอดทั้ง2ข้าง
มีอาการไอเรื้อรัง โดยเฉพาะไอหลังเป็นไข้หวัด
ตรวจเสมหะย้อมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
จากการซักประวัติอาการและอาการแสดง และสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการ
ตรวจครรภ์อาจพบความสูงของยอดมดลุกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์