Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชนิดของคำ (คำนาม (ประเภท (คำนามสามัญ (คำนามทั่วไป เช่น พ่อ แม่ ลูก),…
ชนิดของคำ
คำนาม
ประเภท
คำนามสามัญ
คำนามทั่วไป เช่น พ่อ แม่ ลูก
คำนามวิสามัญ
เมื่อใช้มักมีคำนามสามัญ เช่น ประเทศไทย
คำลักษณนาม
บอกลักษณะของคำนามสามัญ เช่น ผู้ชาย ๑ คน
คำอาการนาม
คำนามที่เกิดจากการแปลงคำกริยาให้เป็น
คำนาม มักมีคำว่า การ หรือ ความ นำหน้า เช่น การเขียน ความรัก
ความหมาย
คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพธรรมชาติ สถานที่ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
คำกริยา
ความหมาย
คำที่บอกอาการ หรือบอกสภาพของคน สัตว์ พืช สิ่งของ เครื่องใช้
ประเภท
คำกริยาสกรรม
ต้องมีกรรมตามหลังจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
คำกริยาต้องเติมเต็ม
คำกริยาที่ต้องมีคำนาม หรือคำสรรพนาม ซึ่งทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มตามหลังเสมอ
คำกริยาอกรรม
คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมตามหลังก็ได้ใจความ
คำเชื่อม
ตัวอย่าง
ความหมาย
คำวิเศษณ์
ความหมาย
คำที่ขยายคำกริยา มักปรากฏหลังคำกริยา ถ้าคำกริยาเป็นกริยาสกรรม
ตัวอย่าง
เสาธงหน้าเรงละครสูงปร๊ด "ปรี๊ด" ขยายกริยา "สูง"
น้องฉันวาดรูปเก่ง "เก่ง" ขยายกริยาสกรรม "วาด"
คำสรรพนาม
ความหมาย
คำที่ใช้แทนคำนาม
ประเภท
คำสรรพนามแยกฝ่าย
ใช้เพื่อแยกคำนามออกเป็นส่วน ๆ เช่น บ้าง กัน
คำสรรพนามถาม
ใช้เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบ เช่น อะไร ไหน
คำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ
ความหมายทั่ว ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น อะไร ไหน
คำสรรพนามชี้เฉพาะ
บอกความหมายเฉพาะเจาะจง เช่น นี่ โน่น
คำบุรุษสรรพนาม
ใช้แทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ถูกกล่าวถึง เช่น ฉัน เธอ มัน
คำบุพบท
ความหมาย
คำที่อยู่หน้าคำนามหรือสรรพนาม มีความหมายเพื่อบอกตำแหน่ง หน้าที่ ความเกี่ยวข้อง ความเป็นเจ้าของ
ชนิดของคำบุพบท
บอกความเป็นเจ้าของ เช่น ของ แห่ง
บอกความข้องเกี่ยว เช่น กับ แก่ แต่
บอกสถานที่ เช่น นอก ใต้ ใกล้
บอกเวลา เช่น ตอน เมื่อ ตั้งแต่
คำอุทาน
บทที่ ๔ กทลีตานี
บทที่ ๔ กทลีตานี
บทที่ ๔ กทลีตานี
บทที่ ๕ ละครย้อนคิด
บทที่ ๕ ละครย้อนคิด
บทที่ ๖ กลอนกานท์จากบ้านไทย
บทที่ ๖ กลอนกานท์จากบ้านไทย