Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
100-119-8พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์เเละเทคโนโลยีสาระสนเทศ (บทที่4…
100-119-8พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์เเละเทคโนโลยีสาระสนเทศ
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ :<3:
ประวิติความเป็นของคอมพิวเตอร์ :<3:
พ.ศ2393 ยอร์จ บูล นักคณิตศาสตร์ชาวอังอังกฤษได้คิดระบบ พีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra
เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค เป็นนักคณิตศาสตร์ที่เข้าใจผลงานของ ชาร์ล เเบบเบจ ได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคำนวณของ ชาร์ล เเบบเบจ เพื่อเเก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล่มนี้ ต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น โปรเเกรมเมอร๋คนเเรกของโลก
พ.ศ.2365 ชาร์ล เเบบเบจ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์เครื่องหาผลต่าง เพื่อใช้คำนวณพิมท์ทางตรีโกณมิติ
พ.ศ.2158 จอห์น เนเพีย นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตเเลนด์ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ช่วยในการคำนวณขึ้นมาเรียกว่า Napiers Bones มีลักษณะคล้ายกับสูตรคูณ
ประมาณ2,600 คริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณขึ้นมาชนืดหนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด
พ.ศ.ดร. จอร์น นิวเเมนน์ ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารุถเก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่องชื่อว่า EDVAC
พ.ศ.2173 วิลเลียม ออตเทรต นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคำนวณ
พ.ศ2185 เบลส์ ปาสคาล นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องบวกลบ
พ.ศ.2288 โจเซฟ เเมรี่ เเจคคาร์ด เป็นชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องทอผ้าโดยใช้คำสั่งจากบัตรเจาะรูควบคุมการทอผ้า
พ.ศ2480-2481 ดร จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ เเละ คลิฟฟอร์ด เเบรี่ ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC
พ.ศ2485-2495 มหาวิทยาลัยเพนวฺลเนียได้สร้าง เครื่อง ENIAC นับได้ว่าเป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องเเรกของโลกที่ใช้หลอดสูญญากาศ
พ.ศ2487 ศาสตราจารย์ โอเวิร์ด ไอด์เคน เเห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอเอ็มบีได้สร่างเครื่อง MARKI
ยุคของคอมพิวเตอร์มี 4ยุค
ยุคทรานซิสเตอร์
ยุคเเผงวงจร
ยุคหลอดสูญญากาศ
ยุคเเผงวงจรขนาดใหญ่
ประเภทของคอมพิวเตอร์ :<3:
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
เมนเฟรม
ไมโครคอมพิวเตอร์
มินิคอมพิวเตอร์
เเท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์เเบบฝังตัว
คุรสมบัติของคอมพิวเตอร์ :<3:
การทำงานด้วยความเร็วสูง
ความถูกต้องเเม่นยำเชื่อถือได้
ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
การเก็บข้อมูลได้ปริมาณมาก
การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล
ส่วนประกอบที่สำคัญของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ
Operating Systems
Translators
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
พีเพิลแวร์
ฮาร์ดแวร์
หน่วยประมวลผล
หน่วยแสดงผลลัพธ์
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยเก็บข้อมูล
บทที่2 ฮาร์ดเเวร์คอมพิวเตอร์ :<3:
ความหมายฮาร์ดแวร์
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้องต่างๆซึ่งประกอบไปด้วยส่วนสำคัญคือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยประมวลผลกลาง
ซีพียู (CPU: Central Processing Unit) เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์ CPU รุ่นใหม่ๆจะมีขนาดเล็กลงแต่ความเร็วเพิ่มขึ้น มีวงจรภายในหน่วยประมวลผลกลางเรียกว่า ไมโครโปรเซสเตอร์
หน่วยควบคุม
หน่วยคำนวณและตรรกะ
หน่วยความจำหลัก
RAM (Random Access memory) แบบเก็บข้อมูลชั่วคราว เก็บข้อมูลอยู่ได้ แต่ต้องมีไฟเลี้ยง
ROM(Read Only Memory) แบบเก็บข้อมูลถาวร เก็บข้อมูลได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
หน่วยรับข้อมูล
อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง : เมาส์ , จอยสติ๊ก
จอภาพระบบไวตอการสัมผัส : จอภาพสัมผัส
อุปกรณ์แบบกด : แป้งพิมพ์
อุปกรณ์บันทึกภาพ : กล้องดิจิตอล
ระบบกวาดข้อมูล : สแกนเนอร์
อุปกรณ์รู้จำเสียง : ไมโครโฟม
หน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผลชั่วคราว
ลำโพง
โปรเจ็ดเตอร์
จอภาพ
หน่วยแสดงผลถาวร
เครื่องพิมพ์
พล็อตเตอร์
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
ดิสก์แม่เหล็ก
ออปติคัลดิสก์
เทปแม่เหล็ก
หน่วยเก็บข้อมูลแบบแฟรช
ส่วนประกอบอื่นๆ
เครื่องสำรองไฟฟ้า
แผงวงจรหลัก
อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล
บทที่3 ซอฟต์เเวร์คอมพิวเตอร์ :<3:
ความหมายของของซอฟต์เเวร์
ซอฟต์เเวร์คือชุดคำสั่งหรือโปรเเกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามลำดับขั้นตอนการทำงานซึ่งเขียนด้วยภาาาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์เเวร์ Software
การที่คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการได้ เพราะมีซอฟต์เเวร์การทำงาน เช่น
ใช้ซอฟต์เเวร์ในการเล่นเกม
ใช้ซอฟต์เเวร์ติดต่อสื่อสารเข้าสู่อินเตอร์เน็ต
ใช้ซอฟต์เเวร์จัดการฐานข้อมูลในการรวบรวมเละจัดเก็บข้อมูลต่างๆ
ใช้ซอฟต์เเวร์ประมวณผลคำนวณการพิมพืเอกสาร
ซอฟเเวร์ต์ระบบ Systen Software
ซอฟต์เเวร์ระบบ คือ ซอฟต์เเวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดเเวร์เเละประสานงานระหว่างซอฟต์เเวร์ ฮาร์ดเเวร์เเละผู้ใช้งานซอฟต์เเวร์ระบบประกอบไปด้วย
ระบบปฏิบัติการ
โปรเเกรมเเปลภาษาคอมพิวเตอร์
ระบบมอรรถประโยชนื
ระบบขับอุปกรณ์
ระบบปฏิบัติการซอฟต์เเวร์
โปรเเกรมระบบปฏิบัติการหรือเรียกสั้นๆว่า OS เป็นโปรเเกรมควบคุมการทำงานเครื่องคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การเเสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ดดยหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้
ระบบปฏิบัติการเเมค
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
ระบบปฏิบัติการลินุกซ์
ระบบปฏิบัติการดอส
ระะบบปฏิบัติการอื่นๆ
ไวรัสคอมพิวเตอร์
จุดประสงคืของการทำงานของไวรัสเเต่ละตัวขึ้นอยู่กับัวผู้เขียนโปรเเกรมไวรัสหรือข้อมูลอื่นๆที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเเสดงข้อความวิ่งไปมาบนหน้าจอ เป็นต้น
ไวรัส คือโปรเเกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้เเละถ้ามีโอกาสก็สามารถเเทรกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆซึ่งอาจเกิดจาการนำเอาดิสก์ที่ติดไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง
ซอฟต์เเวร์ประยุกต์
ซอฟต์เเวร์จัดการฐานข้อมูล
ซอฟต์เเวร์สื่อสาร
ซอฟต์นำเสนอ
ซอฟต์เเวร์กราฟิกเเละสื่อประสม
วอฟต์เเวร์ตารางทำงาน
ซอฟต์เเวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
ซอฟต์เเวร์ประมวณคำ
บทที่4 ระบบอินเทอร์เน็ตเเละการใช้งาน :<3:
อินเตอร์คือเน็ตคืออะไร
คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกันให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
อินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร
การเขื่อมโยงผ่าน เป็นการเชื่อมโยมคอมพิวเตอร์ เข้าสู่อินเทอร์เน็ต โดยผ่านบริษัทผู้ให้บริการจัดสรรการเชื่อมโยม
ISP คืออะไร
คือ หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือยข่ายอินเตอร์เน็ตทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้
โปรโตคอล
คอมพิวเตอร์บนอินเทอร์เน็ตติดต่อกันโดยใช้โปรโตคอลเเบบ ทีซีพี เเละ ไอพี เรียกรวมๆกันว่า ทีซีพี/ไอพี
ทีซีพี ทำหน้าที่ในการควบคุมเเละรับประกันความถูกต้องในการส่งข้อมูล
ไอพี ทำหน้าที่ในการกำหนดที่อยู่หรือเเอดเดรสของคอมพิวเตอร์
ระบบการเเทนชื่อในอินเทอร์เน็ต
รหัสโดเมนเเทนชื่อประเทศ
dk เดนมาร์ค
ie ไอร์เเลนด์
ca เเคนาดา
jp ญี่ปุ่น
at ออสเตรีย
th ไทย
au ออสเตรเลีย
uk อังกฤษ
ในประเทศจะมีโดเมนระดับสุดคือ th เเละมีรหัสโดเมน DNS ย่อเเทนประเภทของหน่วยงาน คือ
.mi หน่วยงานทางทหาร navi.mi.th
.go หน่วยงานของรัฐบาล thaigov.go.th
.co กลุ่มธุรกิจการค้า inet.co.th
.or องค์กรไม่หวังผลกำไร nectec.or.th
.ac สถาบันการศึกษา hu.ac.th
ศัพท์ต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
Wer Server คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตเเละเป็นที่เก็บรวบรวมเว็บไซต์เอาไว้
Broser โปรเเกรมที่ทำหน้าที่ในการนำ Webpage จาก Web server มายังเครื่องเรา เก่งเฉพาะการเปิดเอกสาร
WWW คือ การบริการรูปเเบบหนึ่งที่มีการบรรจุเนื้อหาเรียกว่า Webpage เอาไว้มีหน้าที่นำเข้าข้อมูลมาทางเเสดงทางหน้าจอเเละสามารถเชื่อมโยงไปยัง Web อื่นได้โดยง่าย
web site เเหล่งรวบรวมข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
Home page หน้าเเรกของเว็บไซต์เปรียบดั่งปกหนังสือ
Web page หน้าเเรกเอกสารที่รวบรวมเอาเนื้อหาต่างๆเอาไว้
E-commerce การค้าบนอินเทอร์เน็ต
E-mail จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การติดต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ต
การเชื่อมโดยตรง
การเชื่อมผ่านการหมุนโทรศัพท์
บริการต่างๆในระบบอินเตอร์เน็ต
การเข้าใช้เครื่องจากทางไกล
กาะดานข่าว
การขนถ่ายไฟล์
การพูดคุยออนไลน์
จดหมายอิเล็กส์ทรอนิกส์
บริการเกมส์ออนไลน์
โทษของอินเทอร์เน็ต
ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี
ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง
มีข้อมูลที่มีผลเสียเผยเเพร่อยู่ปริมานมาก
ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจส่งผลเสียให้กับการเรียนได้่
อินเทอร์เน็ตเป็นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของทำให้การควบคุมกระทำได้ยาก
ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต
สามารถค้นหาข้อมูลในด้านต่างๆ
การบริการทางะธุรกิจ เช่น สั่ง สินค้า
มีระบบการการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
การบริการด้านการบังเทิงต่างๆ เช่น การดูภาพยนต์
ด้านการติดต่อสื่อสาร เกิดการเเลกเปลี่ยนข้อมูล