Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ : นางสาวนิฮายาตี นิเฮาะ…
วิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ : นางสาวนิฮายาตี นิเฮาะ 6106510090
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์ มี 5 ยุค
ยุคที่ 1 (1951-1958)
หลอดสุญญากาศ
ยุคที่ 2 (1959-1964)
ทรานซิสเตอร์
ยุคที่ 3 (1965-1970)
ไอซี (IC)
ยุคที่ 4 (1971-1975)
แผงวงจรรวม
ยุคที่ 5 (1975-ปัจจุบัน)
แผงวงจรขนาดใหญ่
ประเภทของคอมพิวเตอร์ มี 6 ประเภท
6.คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded computer)
5.ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro computer)
4.เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (Server computer)
3.มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
2.เมนเฟรม (Mainframe)
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค เข้าใจผลงานของ ชาร์ล แบบเบจ
เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
พ.ศ.2393 ยอร์จ บูล ได้คิดระบบพีชคณิต ระบบใหม่
Boolean Algebra
พ.ศ.2365 ชาร์ล แบบเบจ ประดิษฐ์
เครื่องหาผลต่าง
และ
Analitical Engine
(เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์)
พ.ศ.2480-2481 ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ และ คลิฟฟอร์ด แบรี่ ประดิษฐ์
ABC
(Atanasoff-Berry)
พ.ศ.2288 โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด ประดิษฐ์
เครื่องทอผ้า
พ.ศ.2487 ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน ประดิษฐ์
เครื่อง MARK I
พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล ประดิษฐ์
เครื่องบวกลบ
พ.ศ.2485-2495 มหาวิทยาลัยเพนซิลเลเนีย ประดิษฐ์
เครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator AND Calculator)
พ.ศ. 2173 วิลเลียม ออตเทรต ประดิษฐ์
ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule)
พ.ศ.2492 ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ประดิษฐ์
เครื่อง EDVAC
(คอมพิวเตอร์เครื่องแรก)
พ.ศ. 2158 จอห์น เนเพีย ประดิษฐ์
Napier's Bones (คล้ายตารางสูตรคูณ)
UNIVAC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ถูกใช้ในงานเชิงธุรกิจ
2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนประดิษฐ์ิ
ลูกคิด ( Abacus)
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์มี 5 ประการ
3.ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้ (Accuracy And Reliabiliti)
4.การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก (Storage)
2.การทำงานด้วยความเร็วสูง (Speed)
5.การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูง (Communication)
1.การทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Machine)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.ซอฟต์แวร์ (Software)
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
1.Operating Systems
2.Translators
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
1.ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
2.ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
3.บุคลากร (People ware)
2.นักวิเคราะห์ออกแบบระบบ
3.นักเขียนโปรแกรม
1.ผู้จัดการ
4.วิศวกรคอมพิวเตอร์
5.พนักงานควบคุมเครื่อง
6.ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน
7.พนักงานเตรียมข้อมูล
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) มีการทำงาน 4 อย่าง
2.หน่วยประมวลผล (CPU)
3.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
1.หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
4.หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Unit)
บทที่ 2 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
ความหมายของฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้องต่างๆ ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ
หน่วยรับข้อมูล
ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีอยู่มากมาย เช่น
อุปกรณ์แบบกด
แป้นพิมพ์ (Keyboard)
อุปกรณ์ชี้ตำแหน่ง
เมาส์ (Mouse)
จอยสติ๊ก (Joystick)
จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส
จอภาพสัมผัส (Touch screen)
อุปกรณ์บันทึกภาพ
กล้องดิจิตอล (Digital Camera)
ระบบกวาดข้อมูล
สแกนเนอร์ (Scanner)
อุปกรณ์รู้จำเสียง
ไมโครโฟน (Microphone)
หน่วยแสดงผล
คือ อุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 แบบ
1.หน่วยแสดงผลชั่วคราว
ลำโพง (Speaker)
โปรเจ็คเตอร์ (Projector)
จอภาพ (Monitor)
CRT (Cathode Ray Tube)
LCD (Liquid Crystal Display)
2.หน่วยแสดงผลถาวร
พล็อตเตอร์ (Plotter)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
หน่วยความจำหลัก
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจดจำข้อมูล และโปรแกรมต่างๆที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ประเภท
RAM (Random Access Memory) : แบบเก็บข้อมูลชั่วคราว เก็บข้อมูลอยู่ได้ แต่ต้องมีไฟเลี้ยง
DRAM (Dynamic RAM)
แบบ SDR
แบบ DDR , DDR2 , DDR3
แบบ EDO
SRAM (Static RAM)
หน่วยความจำแคช (Cache memory)
ROM (Read Only Memory) : แบบเก็บข้อมูลถาวร เก็บข้อมูลอยู่ได้แม้ไม่มีไฟเลี้ยง
EPROM
EEPROM
PROM
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง มี 4 ชนิด
ดิสก์แม่เหล็ก (Magnetic Disk)
ออปติคัลดิสก์ Optical Disk)
เทปแม่เหล็ก (Tape)
หน่วยเก็บข้อมูลแบบเฟรช (Flash Drive)
หน่วยประมวลผลกลาง
คือ CPU (Central Processing Unit) เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นตัวกำหนดความเร็วของระบบคอมพิวเตอร์ มีวงจรภายในเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 2 ส่วน
หน่วยควบคุม (CU : Control Unit)
หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)
ส่วนประกอบอื่นๆ
อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล
เครื่องสำรองไฟฟ้า
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามลำดับขั้นตอน
ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์และประสานงานระหว่างซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และผู้ใช้งาน
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) ควบคุมการทำงานต่างๆ
ประกอบด้วย
โปรแกรมขับอุปกรณ์ (Device Driver)
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program)
การจัดการไฟล์
การลบไฟล์ที่ไม่จำเป็น
การจัดเรียงพื้นที่ดิสก์
การป้องกันไวรัส
การสำรองไฟล์
การบีบอัดไฟล์
โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการแมค
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (Unix)
เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows)
มีส่วนที่เรียกว่าหน้าต่าง โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นโปรแกรมหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง สามารถสลับไปมาได้
ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (Linux)
เป็นระบบประเภทฟรีเเวร์ ที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ
ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System : DOS)
ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท IBM DOS จะรับคำสั่งแล้วนำไปปฏิบัติตามโดยการทำงานจะเป็นแบบ Text mode
ระบบปฏิบัติการอื่นๆ
ระบบปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เรียกว่า ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว (Embedded Operating System)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
คือ เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นและจัดจำหน่ายเพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ทันที
ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (Word Processing Software) สำหรับพิมพ์เอกสาร
ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน (Spreadsheet Software) ช่วยในการคิดคำนวณ ทำตาราง
ซอฟต์แวร์นำเสนอ (Presentation Software) ช่วยในการนำเสนอ
ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Database Management Software) เอาไว้เก็บข้อมูล
ซอฟต์แวร์สื่อสาร (Communication Software) สามารถติดต่อสื่อสารกันทั่วโลก
ซอฟต์แวร์กราฟฟิกและสื่อประสม (Graphic and Multimedia Software) ช่วยในการสร้าง การออกแบบ วาด ตกแต่ง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน เน้นการใช้งานทั่วไป
บทที่ 4 ระบบอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
ระบบการแทนชื่อในอินเทอร์เน็ต
การแทนหมายเลขIP Address ด้วยชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ เรียกว่า ระบบชื่อโดเมน
โดเมนระดับบนสุด TLD
แบบสากล เป็นรูปแบบมาตราฐานที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา
แทนชื่อประเทศ
ประเภทหน่วยงาน
การติดต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อโดยตรง
การเชื่อมต่อผ่านการหมุนโทรศัพท์
ระบบอินเทอร์เน็ต
Internet ย่อมาจาก Inter Connection Network) คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรืหลายๆเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกันให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
การเชื่อมโยงต่อผ่าน Internet Service Providers (ISP) เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าสู่อินเทอร์เน็ต โดยผ่านบริษัทผู้ให้บริการจัดสรรการเชื่อมโยง
โปรโตคอล
TCP ควบคุมและรับประกันความถูกต้องในการส่งข้อมูล
IP กำหนดที่อยู่หรือแอดเดรสของคอมพิวเตอร์
บริการต่างๆในระบบอินเทอร์เน็ต
บริการด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนไฟล์ข้อมูล
ขนถ่ายไฟล์
กระดานข่าว
การเข้าใช้เครื่องจากระยะไกล
การพูดคุยออนไลน์
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
บริการเกทส์ออนไลน์
บรการค้นหาข้อมูล
ศัพท์ต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
Web Server คือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตและเป็นที่เก็บรวบรวมเว็บไซต์เอาไว้
Browser คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการนำ Webpage จาก Web Server มายังเครื่องของเรา เก่งเฉพาะการเปิดเอกสาร
Web Site คือ แหล่งรวบรวมข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
Home page คือ หน้าแรกของเว็บไซต์เปรียบดั่งปกหนังสือ และสารบัญรวมกัน
web page คือ หน้าเอกสารที่รวบรวมเอาเนื้อหาต่างๆเอาไว้
URL รูปแบบการอ้างอิงที่อยู่ของเว็บไซต์
HTML คือ ภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าเว็บเพจ ซึ่งเป็นที่มาของส่วนขยาย .htm หรือ .html ท้ายไฟลืเว็บเพจ
Search Engine เป็นการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรมค้นหาช่วย
E-commerce การค้าบนอินเทอร์เน็ต
E-mail Addredd
E-mail จดหมายอิเล็กทรอนิกส์