Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ควาวมรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิเตอร์ (จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ (itชาร์ล…
ควาวมรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิเตอร์
จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์
ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ] ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณขึ้น มาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ( Abacus)
[.ศ.2173 ] วิลเลียม ออตเทรต (William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤ พษได้ประดิษฐ์ ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule) ซึ่ง ต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้าง คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อก
พ.ศ.2185 ] เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส [ ได้ประดิษฐ์ เครื่องบวกลบ โดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุน ไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด
itชาร์ล แบบเบจ ได้พยายามสร้าง เครื่องคำนวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า Analytical Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทำงานของเครื่องออกเป็น 3 ส่วนคือ
ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit)
ส่วนควบคุม (Control unit)
ส่วนคำนวณ (Arithmetic un)
แนวคิดของชาร์ล แบบเบจ ได้รับการนำมาใช้เป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงได้มีการยกย่องให้ ชาร์ล แบบเบจ เป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค ( Lady Ada Augusta Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่เข้าใจผลงานของชาร์ล แบบเบจ ได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคำนวณของชาร์ล แบบเบจ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ต่อมาจึงได้มีการยกย่องให้ เอดา เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
[พ.ศ.2393 ] ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิดระบบ พีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้สภาวะเพียงสองอย่าง คือ True (On) และ False (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะพื้นฐาน ได้แก่ NOT, AND และ OR
ABC ถือเป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรกที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์[ พ.ศ.2480-2481 ] ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ด แบรี่ ( Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry) ขึ้น โดยได้นำหลอดสุญญากาศมาใช้งาน
[ พ.ศ.2485-2495 ] มหาวิทยาลัยเพนซิลเลเนียได้สร้าง เครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator) นับได้ว่าเป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกที่ใช้หลอดสูญญากาศ และควบคุมการทำงานโดยวิธีเจาะชุดคำสั่งลงในบัตรเจาะรู
และควบคุมการทำงานโดยวิธีเจาะชุดคำสั่งลงในบัตรเจาะรู
[ พ.ศ.2492 ] ที่สามารถเก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่อง ชื่อว่า EDVAC นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
บเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรEDVAC มไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรEDVAC มไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์
ดรัมแม่เหล็ก ถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลัก
ภาษาคมแม่เหล็ก เป็นส่วนสำคัญ
อยู่ในรูปขออมพิวเตอร์ที่ใช้ จะใช้หลอดสูญญากาศและ ดรังภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเ
ลขฐานสองทั้งสิ้น
ยุคที่ 2 (1959-1964) ทรานซิสเตอร์
หน่วยบันทึกข้อแมูลสำรอง เป็น Magnetic disk ซึ่งมีความเร็วสูงขึ้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ถูกรวมกันไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (Printed circuit boards) ทำให้วิเคราะห์หาข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้น
ภาษาที่ใช้เหน่วยความจำพื้นฐานใช้ Magnetic core
ะดับสูงเป็นภาษาเครื่องป็นระดับสูงเช่น FORTRAN และ COBOL ทำให้โปรแกรมได้สะดวกกว่ายุคแรกเนื่องจากไวยากรณ์คล้ายคลึงภาษาอังกฤษ
เริ่มมี Compiler และ Interpreter
ในการแปลงภาษารแทนที่หลอดสูญญากาศด้วย ทรานซิสเตอร์
ข้อเสีย
หลอดสูญญากาศ มีความไม่น่าเชื่อสูง เป็นเหตุให้ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการให้เครื่องทำงานได้
ข้อเสีย
อุปกรณ์รับข้อมูล และแสดงผลทำงานได้ช้ามาก
คอมพิวเตอร์ต้องรอรับข้อมูล หรือการแสดงผลบ่อยๆ
ต่อมาได้มีการนำเอา การประมวลผลแบบขนาน (Parallel Processing) มาใช้ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูล แสดงผลและประมวลผลได้พร้อมๆ กัน
ยุคที่ 3 (1965-1970) ไอซี(IC)
Integrated Circuits หรือ IC ซึ่งประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ และวงจรไฟฟ้าที่รวมอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็กๆ มาแทนการประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย
มี Compiler แลเริ่มะ Interpreter
ในการแปลงภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง
มีการใช้งาน เทอร์มินัล (Terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ทางคีย์บอร์ด (keyboard)
ภาษาโปรแกรมระดับสูงเกิดขึ้นมากมายในยุคที่สามเช่น RPG BASIC เป็นต้น
เริ่มมี ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ช่วยในการบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์
ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) ทำให้สามารถต่อเทอร์มินัลจำนวนมากเข้าไปยังคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง โดยแต่ละคนสามารถทำงานในส่วนของตัวเองได้พร้อมๆกัน
ภาษาโปรแกรมระดับสูงเกิดขึ้นมากมายในยุคที่สามเช่น RPG BASIC เป็นต้น
เริ่มมี ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ช่วยในการบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์
ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) ทำให้สามารถต่อเทอร์มินัลจำนวนมากเข้าไปยังคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง โดยแต่ละคนสามารถทำงานในส่วนของตัวเองได้พร้อมๆกั
ระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการคำนวณหรือประมวลผล และจัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร จะทำงานตามโปรแกรมที่วางเอาไว้ และประมวลผลลัพธ์ตามที่ต้องการง แ
ละแม่
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ 5 ประการ
ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic machine)
การทำงานด้วยความเร็วสูง (Speed)
ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้ (Accuracy and Reliability)
การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก (Storage)
การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล
ประเภทของคอมพิวเตอร์
เมนเฟรม (Mainframe)มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
เซิร์ฟเว อร์คอมพิวเตอร์ (Server computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro computer)
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computer)
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Super Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เกิดเมื่อ ค.ศ.1960กระทรวงกลาโหมของ USA ใช้ในการคำนวณที่ซับซ้อน เช่น การคำนวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหรรมน้ำมัน งานควบคุมทางอวกาศ เป็นต้น
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ข้อดี
ทำงานได้รวดเร็ว /มีประสิทธิภาพสูง (ความเร็วในการประมวลผลคิดจะเป็นนาโนวินาที คือ 1 / พันล้านวินาที หรือ Giga Flop)
Multiprocessing คือ จะมีหน่วยประมวลผลได้หลายตัว
สามารถรองรับผู้ใช้งานได้หลายร้อยคนพร้อมๆ กัน
ข้อเสีย
ราคาแพง
ต้องอยู่ในห้องที่ต้องควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่น
เมนเฟรม (Mainframe)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รองลงมาจากเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป สามารถรองรับผู้ใช้งานได้หลายร้อยคนพร้อมๆ กัน
ข้อเสีย
ต้องอยู่ในห้องที่ต้องควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่น เหมือนเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ได้รับความนิยมน้อยลงเนื่องจาก คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพ และความสามารถดีขึ้น ราคาถูกลง
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
ใช้ในองค์กรขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเครื่องเมนเฟรมมาก ใช้หลักการมัลติโปรแกรมมิ่ง เช่นเดียวกับเครื่องเมนเฟรม เครื่องมินิจะทำงานได้ช้ากว่า เครื่องเมนเฟรม รองรับการใช้งานได้น้อยกว่า เครื่องเมนเฟรม
เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (Server computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์เครือข่าย ซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro computer)
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ปัจจุบันมีประสิทธิภาพในการทำงานค่อนข้าง
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ต่างๆ ทำให้มองไม่เห็นจากรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ นิยมใช้งานเฉพาะด้าน โดยทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมบางอย่าง เช่น เตาอบไมโครเวฟ ระบบการเติมน้ำมัน นาฬิกาข้อมือดิจิตอลโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น
องค์ประกอบของ
ระบบคอมพิวเตอร์
ลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ที่เกี่ยวข้อง
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผล (CPU : Central Processing Unit)
หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Unit)
ซอฟต์แวร์ (Software)
หมายถึง คำสั่งหรือโปรแกรมจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ และมีโปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียน
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
มีหน้าที่ ติดต่อ และควบคุม ส่วนประกอบของ ฮาร์ดแวร์ทั้งหมด เช่น
การนำข้อมูลมาแสดงทางจอภาพ เช่น จากฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
การเก็บข้อมูลลง ในแผ่น Diskette หรือ ในฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
และมีหน้าที่ แปลข้อมูลต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง Machine Language
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
Operating Systems
Translators เช่น Assembler, Interpreter, Compiler
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
เป็นโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี ตลอดจนด้านอื่นๆ
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Express, Easy เป็นต้น
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เช่น Microsoft Office, Power DVD เป็นต้น
บุคกร ลา(People ware / User)
ซอฟต์แวร์ (Software)
หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งได้หลายระดับ
User ผู้ใช้งานพื้นฐานทั่วไป
User ผู้ใช้งานพื้นฐานทั่วไป
เชี่ยวชาญในการใช้งานโปรแกรมต่างๆ
Programmer ผู้สร้างโปรแกรมหรือ ผู้เขียนโปรแกรม
Computer Professional นักวิเคราะห์ระบบ หรือผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้งานได้สูงขึ้นไปอีก
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
ในการทำงานต่างๆ จะมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ระบบคอมพิวเตอร์สามารถแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้จากแหล่งต่างๆ
สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำเอาข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อนแล้ว
กระบวนการทำงาน (Procedure)
หมายถึง ขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้ใช้งานต้องรู้กระบวนการทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ศึกษาขั้นตอนการใช้งานได้จากคู่มือการใช้งาน หรือเอกสารประกอบการใช้งาน (Operation Manual, User Manual) ตัวอย่างเช่น
ขั้นตอนการใช้งาน ATM,
ขั้นตอนการตั้งค่านาฬิกาดิจิตัล
เป็นต้น
อุปกรณ์ส่วนเชื่อมต่ออื่นๆ
การเชื่อมต่อ USB (Universal Serial Bus)
เครื่องสำรองไฟ (UPS : Uninterruptible Power Supply)
เป็นอุปกรณ์สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าสำรองจากแบตเตอรี่ เพื่อเป็นแหล่งพลังงานฉุกเฉิน ในกรณีเกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าหลัก เช่น ไฟดับ ไฟตก