Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ควาวมรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิเตอร์ (จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ (itชาร์ล…
ควาวมรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิเตอร์
จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์
[.ศ.2173 ] วิลเลียม ออตเทรต (William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤ พษได้ประดิษฐ์ ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule) ซึ่ง ต่อมากลายเป็นพื้นฐานของการสร้าง คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อก
[ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ] ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำนวณขึ้น มาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ลูกคิด ( Abacus)
พ.ศ.2185 ] เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส [ ได้ประดิษฐ์ เครื่องบวกลบ โดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเมื่อฟันเฟืองหมุน ไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปัด
[ โดยใช้คำสั่งจากบัตรเจาะรูควบคุมการทอผ้าให้มีสี และลวดลายต่างๆ พ.ศ.2288 ] โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด (Joseph Marie Jacquard) เป็นชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์ เครื่องทอผ้า
[ พ.ศ.2365 ] ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ เครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) เพื่อใช้คำนวณ พิมพ์ค่าทางตรีโกณมิติ และฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
itชาร์ล แบบเบจ ได้พยายามสร้าง เครื่องคำนวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า Analytical Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทำงานของเครื่องออกเป็น 3 ส่วนคือ
ส่วนคำนวณ (Arithmetic un)
ส่วนควบคุม (Control unit)
ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit)
แนวคิดของชาร์ล แบบเบจ ได้รับการนำมาใช้เป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงได้มีการยกย่องให้ ชาร์ล แบบเบจ เป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค ( Lady Ada Augusta Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่เข้าใจผลงานของชาร์ล แบบเบจ ได้เขียนวิธีการใช้เครื่องคำนวณของชาร์ล แบบเบจ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล่มหนึ่ง ต่อมาจึงได้มีการยกย่องให้ เอดา เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
[พ.ศ.2393 ] ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิดระบบ พีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้สภาวะเพียงสองอย่าง คือ True (On) และ False (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะพื้นฐาน ได้แก่ NOT, AND และ OR
ABC ถือเป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรกที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์[ พ.ศ.2480-2481 ] ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ด แบรี่ ( Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry) ขึ้น โดยได้นำหลอดสุญญากาศมาใช้งาน
[ พ.ศ.2485-2495 ] มหาวิทยาลัยเพนซิลเลเนียได้สร้าง เครื่อง ENIAC (Electronic Numerical Integrator And Calculator) นับได้ว่าเป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกที่ใช้หลอดสูญญากาศ และควบคุมการทำงานโดยวิธีเจาะชุดคำสั่งลงในบัตรเจาะรู และควบคุมการทำงานโดยวิธีเจาะชุดคำสั่งลงในบัตรเจาะรู
นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรEDVAC มไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
-นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรEDVAC มไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
[ พ.ศ.2492 ] ที่สามารถเก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่อง ชื่อว่า EDVAC นับเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่องได้ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 3 (1965-1970) ไอซี(IC)
Integrated Circuits หรือ IC ซึ่งประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ และวงจรไฟฟ้าที่รวมอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็กๆ มาแทนการประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย
มี Compiler แลเริ่มะ Interpreter
ในการแปลงภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง
ภาษาโปรแกรมระดับสูงเกิดขึ้นมากมายในยุคที่สามเช่น RPG BASIC เป็นต้น
เริ่มมี ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ช่วยในการบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์
ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) ทำให้สามารถต่อเทอร์มินัลจำนวนมากเข้าไปยังคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง โดยแต่ละคนสามารถทำงานในส่วนของตัวเองได้พร้อมๆกัน
มีการใช้งาน เทอร์มินัล (Terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ทางคีย์บอร์ด (keyboard)
ยุคที่1 (1951-1958) หลอดสูญญากาศ
ดรัมแม่เหล็ก เป็นส่วนสำคัญใช้หลอดสูญญากาศ
ดรัมแม่ล็ก ถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลักเหล็ก
ดรัมแม่เหล็ก ถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลัก
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐานสองทั้งสิ้น
ยุคที่ 2 (1959-1964) ทรานซิสเตอร์
หน่วยบันทึกข้อแมูลสำรอง เป็น Magnetic disk ซึ่งมีความเร็วสูงขึ้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ถูกรวมกันไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (Printed circuit boards) ทำให้วิเคราะห์หาข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้น
ภาษาที่ใช้เหน่วยความจำพื้นฐานใช้ Magnetic core
ระดับสูงเป็นภาษาเครื่องป็นระดับสูงเช่น FORTRAN และ COBOL
ทำให้โปรแกรมได้สะดวกกว่ายุคแรกเนื่องจากไวยากรณ์คล้ายคลึงภาษาอังกฤษ
เริ่มมี Compiler และ Interpreter
ในการแปลงภาษารแทนที่หลอดสูญญากาศด้วย ทรานซิสเตอร์
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ 5 ประการ
การทำงานด้วยความเร็วสูง (Speed)
ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้ (Accuracy and Reliability)
ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic machine)
การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก (Storage)
การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล
ระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการคำนวณหรือประมวลผล และจัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร จะทำงานตามโปรแกรมที่วางเอาไว้ และประมวลผลลัพธ์ตามที่ต้องการง แ
ละแม่
ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามความแตกต่างจากขนาดและความเร็วในการประมวลผล
เมนเฟรม (Mainframe)มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer)
เซิร์ฟเว อร์คอมพิวเตอร์ (Server computer)
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro computer)
คอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded Computer)
องค์ประกอบของ
ระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
ในการทำงานต่างๆ จะมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ระบบคอมพิวเตอร์สามารถแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้จากแหล่งต่างๆ
-สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนำเอาข้อมูลไปผ่านกระบวนการหนึ่งก่อนแล้ว
บุคกร ลา(People ware / User)
ซอฟต์แวร์ (Software)
หมายถึง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งได้หลายระดับ
User ผู้ใช้งานพื้นฐานทั่วไป
User ผู้ใช้งานพื้นฐานทั่วไป
เชี่ยวชาญในการใช้งานโปรแกรมต่างๆ
Programmer ผู้สร้างโปรแกรมหรือ ผู้เขียนโปรแกรม
Computer Professional นักวิเคราะห์ระบบ หรือผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้งานได้สูงขึ้นไปอีก
ซอฟต์แวร์ (Software)
หมายถึง คำสั่งหรือโปรแกรมจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ และมีโปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียน
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
กระบวนการทำงาน (Procedure)
หมายถึง ขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้ใช้งานต้องรู้กระบวนการทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ศึกษาขั้นตอนการใช้งานได้จากคู่มือการใช้งาน หรือเอกสารประกอบการใช้งาน (Operation Manual, User Manual) ตัวอย่างเช่น
ขั้นตอนการใช้งาน ATM,
ขั้นตอนการตั้งค่านาฬิกาดิจิตัล
อุปกรณ์ส่วนเชื่อมต่ออื่นๆ
การเชื่อมต่อ USB (Universal Serial Bus)
เครื่องสำรองไฟ (UPS : Uninterruptible Power Supply)
เป็นอุปกรณ์สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าสำรองจากแบตเตอรี่ เพื่อเป็นแหล่งพลังงานฉุกเฉิน ในกรณีเกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าหลัก เช่น ไฟดับ ไฟตก