Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[ทฤษฏีการให้การปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม Rational Emotive…
[ทฤษฏีการให้การปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม
Rational Emotive Behavior Therapy (REBT)
เป้าหมายของการให้การปรึกษา
เป้าหมายหลัก คือ การลดการลงโทษตนเองและพยายามใช้ความสามารถของตนเองพัฒนาไปสู่เป้าหมายในชีวิตที่เป็นไปได้ตามสภาพความเป็นจริง มีปรัชญาในการดําเนินชีวิตที่ไม่ก่อให้เกิดความทุกข์แก่ตนเองและผู้อื่น
เป้าหมายรองลงมา คือ การช่วยให้บุคคลคิดอย่างชัดเจนและมีเหตุผลมากขึ้น รู้สึกเหมาะสมและทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นในการบรรลุเป้าหมายในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ผู้ให้กําเนิด คือ Albert Elis
กระบวนการขั้นตอนการให้การปรึกษา
ขั้นที่ 1 การให้การปรึกษาเน้นความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Counseling)
ขั้นที่ 2 การให้การปรึกษาด้านอารมณ์ (Emotive Counseling)
วันที่ 3 การให้การปรึกษาด้านพฤติกรรม (Behavioral Counseling)
คุณสมบัติของการปรึกษาที่ดี
ประหยัดเวลาของผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา
ผู้รับการปรึกษาได้รับการช่วยเหลือให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างรวดเร็ว
วิธีการให้การปรึกษาต้องสามารถใช้ได้ผลกับผู้รับการปรึกษาหลาย ๆ กลุ่มประเภท
สามารถแก้ปัญหาอย่างได้ผลและลึกซึ้ง
เทคนิคและกลวิธีการให้การปรึกษา
ผู้ให้การปรึกษาจะให้กําลังใจ
ผู้ให้การปรึกษาใช้เทคนิคทางอารมณ์
4.1 การจินตนาการให้เกิดการใช้เหตุผลและอารมณ์(Imagery)
4.2 การแสดงบทบาทสมมุติ(Role playing)
4.3 การฝึกการจัดการกับความอาย(Shame-attacking exercises)
4.4 การยอมรับอย่างไม่มีเงื่อนไข
4.5 การใช้ภาษาแสดงอารมณ์
ผู้ให้การปรึกษาใช้เทคนิคทางพฤติกรรม
5.1 การฝึกทักษะ
5.2 การวางเงื่อนไขแบบการกระทํา
5.3 การให้แรงเสริมทางสังคม
ผู้ให้การปรึกษาจะปฏิบัติตนเหมือนนักต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
ผู้ให้การปรึกษาใช้เทคนิคทางปัญญา
3.3 การจำแนกความคิด
3.4 การกำหนดขอบเขตของความคิดที่ชัดเจน
3.5 การตีความหมายของการป้องกันตนเอง
3.6 การแสดงให้ผู้รับการบำบัดเห็นว่ามีทางเลือกและการกระทำที่เลือกได้
3.7 การใช้ภาษาให้ถูกต้องชัดเจน
3.8 การใช้อารมณ์ขัน
3.9 การบ้านเพื่อการฝึกวิเคราะห์ความคิดอารมณ์และพฤติกรรมของตน
3.2 การพูดถึงตนเองอย่างมีเหตุผล
3.1 การโต้แย้งกับความคิดที่ไม่มีเหตุผล
3.1.2 การโต้แย้งความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล (debating)
3.1.3 การชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างความเชื่อที่ไม่มีเหตุผลกับความคิดที่มีเหตุผล (discriminate)
3.1.1 การสืบหาความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล
ข้อสนับสนุน
1.1 เป็นวิธีการให้การปรึกษาที่ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความตระหนักว่าความคิดที่ไร้เหตุผล การกล่าวโทษตนเองเป็นสาเหตุของอารมณ์ทางลบ ฉะนั้นถ้าจะแก้ไขอารมณ์ทางลบที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม บุคคลก็สามารถแก้ไขโดยการเรียนรู้วิธีคิดอย่างเหมาะสม คือ คิดอย่างมีเหตุผล
1.2 เป็นวิธีการให้การปรึกษาที่ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาได้ตระหนักถึงตัวของเขาเองว่าเป็นผู้ที่สามารถควบคุมอารมณ์ ความรู้สึกได้ดี โดยไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสถานการณ์ เรียนรู้ที่จะคิดและรู้สึกในแบบใหม่ ละทิ้งความเชื่อแบบเก่า ๆ
1.3 เป็นวิธีการให้การปรึกษาที่เน้นให้ผู้รับการปรึกษาช่วยตัวเองอย่างเต็มที่โดยการนําหลักการและประสบการณ์ที่เรียนรู้ในสภาพการให้การปรึกษาไปฝึกปฏิบัติในสภาพความเป็นจริง
ข้อจำกัด
2.1 เป็นวิธีการให้การปรึกษาที่ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาใช้วิธีการแบบนําทางมาก ทําให้เกิดความรู้สึกว่าผู้ให้การปรึกษามีอํานาจและความเชี่ยวชาญเหนือผู้รับการปรึกษา
2.2 เป็นวิธีการให้การปรึกษาที่ทําให้ผู้รับการปรึกษาเกิดการต่อต้านได้ง่าย ถ้าผู้ให้การปรึกษาไม่ระมัดระวังในช่วงของการท้าทายให้ผู้รับการปรึกษาคิดเรียนรู้ว่าความเชื่อเก่าๆของตนเองไม่เหมาะสม