Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Shoulder Dystocia (กลุ่มตัวอย่าง (Midwifery (1,2,5,7,8), Obstetrician (7),…
Shoulder Dystocia
กลุ่มตัวอย่าง
Midwifery (1,2,5,7,8)
Obstetrician (7)
resident (2,4,5,6)
Medical student (3)
Physicians (2,6)
สถานที่วิจัย
Europe (2,3,4,7,8)
America (5,6)
Asia(1)
ปีที่วิจัย
5 ปี
2016 (2), 2017(1),2016 (2)
10 ปี
2012 (3,4) 2010 (8) 2008 (6,7)
วิธีการวิจัย
สถิติที่ใช้วิเคาระห์
สถิติเชิงพรรณนา คือ Mann-whitney U-test and wiicoxon test via SPSS software (version 16) (1)
SPSS (statistics 18.0 SPSS Inc , Chicago,IL,USA) (4)
SPSS 11.0 (3)
Stata version 14 (5)
SPSS version 18.0 (2)
SPSS (SPSS Inc, Chicago,IL,) Dichotomous หรือ fisher”s exact test (6)
SPSS version 13 และโปรแกรม V 7.0, t-test แบบคู่, t-test อิสระ และการทดลองเชิงกลุ่ม (Mann-whitney ) (7)
เครื่องมือ
แบบสอบถาม(1,5,6,8)
แบบทดสอบ (1,2,8)
แบบสังเกต(3,4,6,7)
แบบสัมภาษณ์(5)
study design
statistical descriptive (1)
retrospective control study (2)
Randomiazed controlled trial dublebline (3)
Mixed - medthods (5,6)
Randomized controlled trial (4,8)
retrospective and observation study compare (7)
keyword
shoulder dystocia , training, simulation,management,Midwife Resident , staff, Intervention , Experimental , comparison , low playing , delivery , labour
การอภิปรายผล
ข้อดี
-หลังการฝึกอบรมไม่พบการบาดเจ็บและการแตกหักของกระดูก ใช้แรงในการดึงทารกลดลง(2)
-ประสิทธิภาพการสื่อสารเพิ่มขึ้นหลังฝึกอบรม(6)
-การอบรมแบบสถานการณ์จำลองเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในระยะสั้นอย่างมีนัยสำคัญ สร้างความพึงพอใจในการเรียนรู้ของผู้อบรม(8)
-การฝึกอบรมฉุกเฉินสำหรับสูติศาสตร์ทำให้หลังฝึกอบรมมีผลลัพท์ที่ดีขึ้น ผลกระทบต่อทารกลดลง(7)
-สามารถนำไปใช้เป็นหลักสูตรในการฝึกอบรมบุคลากร(3)
-ผลการศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับสาขาต่างๆได้ การวิจัยเพิ่มเติมควรเน้นที่การประเมินของการฝึกที่วัดผลลัพธ์ได้(4)
การใช้โปรแกรมSPPCสามารถเพิ่มความปลอดภัยในการจัดการภาวะคลอดติดไหล่ปรับได้ตามความต้องการแล้วแต่กรณี(5)
ข้อเสีย
ใช้ทรัพยากรมาก ทำให้สถาบันการศึกษาจำเป็นต้องสร้างหลักฐานสนับสนุนให้มากขึ้น เพื่อประสิทธิภาพที่ดี(3)
ผู้ให้บริการควรมีประสบการณ์การคลอดติดไหล่ แต่เป็นการยากในการฝึกการจัดการภาวะคลอดติดไหล่(6)
-แพทย์ทั้งหมดต้องการการอำนวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะการสื่อสารไม่ใช่แค่การฝึกอบรม(6)
-ครึ่งหนึ่งของแพทย์ต้องการกุมารแพทย์ติดตามในสถานการณ์จำลองภาวะคลอดติดไหล่(6)
-การฝึกอบรมควรมีการฝึกสถานการณ์จำลองเพื่อให้ผลดีกว่าการให้ความรู้เพียงอย่างเดียว(1)
-การศึกษาวิจัยนี้ไม่สามารถบอกถึงผลระยะยาวได้ ควรมีการติดตามประเมินผลและจัดฝึกอบรมซ้ำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง(3)
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำการฝึกอบรมสถานการณ์จำลองการคลอดปกติที่มีภาวะคลอดติดไหล่เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในภาวะฉุกเฉิน และสามารถแก้ไขปัญหาภาวะคลอดติดไหล่ได้ทันที ตามกระบวนการ
2.แผนกสูติกรรมควรมีการจัดฝึกอบรมความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในสถานที่ปฏิบัติงานเป็นระยะๆ สม่ำเสมอ เพื่อให้ทีมทำงานได้เพิ่มความรู้ เพิ่มทักษะ ความมั่นใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน พัฒนาประสิทธิภาพของทีมงานให้ดียิ่งขึ้น
3.ใช้ในการฝึกบุคลากรใหม่ที่เริ่มปฏิบัติงานในหน่วยงานเพื่อเสริมสร้างทักษะการจัดการภาวะคลอดติดไหล่
4.การนำโปรแกรม SPPC มาใช้ในหน่วยงานของตนเองได้ทำให้เกิดความปลอดภัยใน การจัดการการคลอดติดไหล่ ลดอุบัติการณ์ injury จากการคลอดติดไหล่
5.สามารถนำสถานการณ์จำลองการคลอดติดไหล่ไปฝึกเพื่อให้สามารถเข้าใจแนวทางการจัดการและรับมือกับสถานการณ์การคลอดติดไหล่ที่เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ได้ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความปลอดภัยเมื่อเกิดภาวะคลอดติดไหล่
สามารถนำทักษะการสื่อสารไปปรับใช้ในหน่วยงานได้ รู้ว่าตอนไหนควร call for help หรือ call for pediatrics
6.เสริมสร้างความมั่นใจในการจัดการภาวะคลอดติดไหล่ เพิ่มทักษะความนุ่มนวลและการออกแรงดึงน้อยที่สุด
สรุปผล
จากการทบทวนงานวิจัยทั้ง8ฉบับพบว่าการจัดการการคลอดติดไหล่โดยใช้สถานการณ์จำลองมีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ที่ดีต่อการดูแล ลดอัตราการบาดเจ็บของมารดาและทารก มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพิ่มทักษะ เกิดความมั่นใจในตนเอง สร้างความพึงพอใจต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าร่วมการฝึกซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญที่บุคลากรทางการแพทย์ต้องเรียนรู้และฝึกฝนให้เกิดความชำนาญอย่างสม่ำเสมอ