Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 หลักการ แนวคิด ทฤษฏีการจัดการเรียนรู้ (ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมเช…
บทที่ 1
หลักการ แนวคิด ทฤษฏีการจัดการเรียนรู้
ทฤษฏีการเรียนรู้
ทฤษฏีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม
Cognitive Constructivism
ทฤษฏีพัฒนาการของพีอาเจต์
ผู้เรียนเป็นผู้กระทำและเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง
Social Constructivism
ทฤษฏีพัฒนาการของวิก็อทสกี้
ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์สังคมกับผู้อืน
ทฤษฏีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมเรสปอนเดนต์
การวางเงื่อนไขแบบคลาสิก
ศึกษาเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร
ทดลองกับสุนัข
อีวาน พาฟลอฟ
สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข+สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้
พฤติกรรมโอเปอแรนต์
สกินเนอร์ (B.F. Skinner)
การเสริมแรงทางบวกและการเสริมแรงทางลบ
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
รอเจอร์ส(Rogers)
โคมส์(Knowles)
มาสโลว์(Maslow)
แฟร์(Faire)
อิลลิช(illich)
นีล(Neil)
พุทธปรัชญา (ฺBuddhism)
แนวคิดมาจากพระพุทธศาสนา (ฺBuddhism)
การศึกษาในพระพุทธปรัชญา คือ การศึกษาเพือให้เข้าใจความจริง เข้าใจความหมายของชีวิต ทั้งดำรงชีวิตให้สอดคล้องสัมพันธ์กับความจริง
ทฤษฏีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียน (Constructivism)
ไม่เน้นการให้เนื้อหาที่ผู้เรียนจะต้องเรียนแต่เน้นที่ตัวผู้เรียนและประสบการณ์ของผู้เรียน
ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา(Social Cognitive Learning Theory)
เป็นทฤษฎีของศาสตราจารย์บันดูรา
มีความเชือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ (interact) กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ
กระบวนการความเอาใจใส่ (Attention)
กระบวนการจดจำ (Retention Process)
กระบวนการจูงใจ (Motivation Process)