Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย (ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย…
สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย
ตัวแปร
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
ตัวแปรตาม
ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน
ประเภทตัวแปรตามระดับการวัด
ตัวแปรอันดับ
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามาตร หรือ นามกำหนด
ตัวแปรอัตราส่วน
คำจำกัดความ
Statistics มาจากภาษาเยอรมัน รากศัพท์คือ Stat แปลว่า สารสนเทศหรือข้อมูล
สถิต หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรม
ประเภทของสถิติ
สถิติเชิงพรรณรา
อธิบายข้อมูลที่มีอยู่
ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร
ลักษณะที่จะพรรณนา
การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข
การใช้แผนภาพ
สถิติไร้พารามิเตอร์
นำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น
สถิติพารามิเตอร์
อธิบาย สรุปลักษณะบางประการของประชากร
ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป
มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ
ประชากรที่ศึดษาต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน
ใช้อักษรกรีกและอังกฤษเป็นสัญลักษณ์
ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด
สามารถกำหนดได้ว่าตัวไหนเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
รู้หลักเบื้องต้นของการใช้สถิติ
ทราบวัตุประสงค์
รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล
หลักการเบื้อต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการ
แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง
หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก
ตีความหมาย
การใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ตัวแปรในการวิจัย
การวิเคราะ์สถิติสองตัวแปร
ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ
ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณทั้งคู่
การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร
เงื่อนไขของการแจกแจงแบบปกติและความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง
ปัญหาความสัมพันธ์กันมากระหว่างตัวแปรอิสระ
ขนาดของตัวแปร
ปัญหาความไม่เป็นเส้นตรง
ระดับของการวัด
ประเภทของข้อมูล
นามบัญญัติ
จัดข้อมูลหรือตัวแปลออกเป็นกลุ่ม
จะนำไป บวก ลบ คูณ หารกันไม่ได้
เรียงอันดับ
ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆตามวัตถุประสงค์
วิเคราะห์ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
อันตรภาค
บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละชาวง
สามารถบวก ลบ คูณ หารกันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้
วิเคราะห์ ความถี่ สัดส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานและสถิติชั้นสูงทุกตัว
อัตราส่วน
ใช้วัดในระดับสูง สามารถบวก ลบ คูณ หารได้มีศูนย์แท้
วิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
วัตถุประสงค์การใช่สถิติ
ศึกษาการประมาณค่า
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา
พรรณราคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์
61108585_G3 ศุภกานต์ สีสันงาม