Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มดลูกแตก (Rupture of the uterus) (อาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก…
มดลูกแตก (Rupture of the uterus)
หมายถึง การฉีกขาดหรือทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอดหรือขณะคลอด
สาเหตุ
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน (Traumatic rupture of the intact uterus) เกิดจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ ได้แก่ การคลอดด้วยคีม ทำคลอดท่าก้น
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม (Rupture previous uterine scar) เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มดลูกแตกเอง (Spontaneous of the intact uterus)
พบได้ในผู้ตั้งครรภ์หลัง อายุมาก ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ลักษณะมดลูกแตก
มดลูกไม่แตกไม่ตลอด (Incomplete rupture) รอยแตกไม่ทะลุชั้น Peritoneum ชั้นนอกมดลูก ยังคลุมตัวทารกอยู่
มดลูกปริ (Dehiscence) จะพบแต่เลือดออกทางช่องคลอดเท่านั้น
มดลูกแตกหมด (Complete rupture) แตกทะลุชั้น Peritoneum
อาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก
ปวดบริเวณเหนือหัวหน่าว
ผู้คลอดกระสับกระส่าย กระวนกระวาย ชีพจรเบาเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ
มดลูกหดรัดตัวไม่สัมพันธ์กันความก้าวหน้าของการคลอด
หน้าท้องมองเห็นสองรอน
กดเจ็บบริเวณหน้าท้อง
FHS ของทารกในครรภ์ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
การพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์ที่เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ควรแนะนำให้คุมกำเนิดและเว้นระยะของการตั้งครรภ์อย่างน้อย 2 ปี และถ้าอายุครรภ์มากกว่า 36 สัปดาห์ส่งพบแพทย์เพื่อนัดวันคลอด
ในระยะคลอด ต้อง
เฝ้าดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกถ้าพบว่าผิดปกติ คือ interval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่า 90 นาที มดลูกแบ่งเป็นสองลอนหน้าท้องแข็งตลอดเวลา ผู้คลอดกระสับกระส่าย ปวดท้องมาก แน่นอึดอัดในท้อง ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้ยิน ควรรายงานแพทย์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงควร
แนะนำให้ฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอและแนะนำให้มาคลอดที่โรงพยาบาล
ในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ผิดปกติหรือมี
ภาวะแทรกซ้อนของกาตั้งครรภ์ เช่น ท่าขวาง เด็กหัวบาตร การคลอดล่าช้า เคยผ่าตัดที่มดลูก เคยได้รับการทำสูติศาสตร์หัตการ ควรรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าตัดทำคลอด
เตรียมผู้คลอดเพื่อทำผ่าตัดในรายที่มีภาวะเสี่ยง
ต่อมดลูกแตกหรือในรายที่มดลูกแตก
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดให้
การดูแลด้านจิตใจแก่มารดาหลังคลอด และครอบครัวในรายที่สูญเสียบุตร
อาการและอาการแสดงมดลูกแตกแล้ว
มี Hypovolemic shock
คลำพบรอยแยก
FHS ของทารกเปลี่ยนแปลงหรือหายไป
ปวดท้องอย่างรุนเเรง คลำพบส่วนเด็กชัดเจน