Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แรงงานสัมพันธ์ (วิวัฒนาการของการผลิต (ระบบดึกดำบรรพ์, ระบบทาส,…
แรงงานสัมพันธ์
วิวัฒนาการของการผลิต
-
-
-
-
- ระบบการจ้างงานและกิจการในตัวเรือน
-
-
ความสำคัญของกฏหมาย
1.ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการจ้างแรงงาน เป็นกฏหมายที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
- ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103 (พ.ศ. 2515) เป็นประกาศที่กล่าวถึงอำนาจของกระทรวงมหาดไทยในการดำเนินงานด้านแรงงานสัมพันธ์
- พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (พ.ศ. 2518) เป็นพระราชบัญญัติที่กล่าวถึงขั้นตอนและวิธีการด้านแรงงาน :สัมพันธ์ที่นายจ้างและลูกจ้างจะปฏิบัติต่อกัน
- พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (พ.ศ. 2522) วัตถุประสงค์หลักของรัฐในการจัดตั้งศาลแรงงาน
- พระราชบัญญัติประกันสังคม (พ.ศ.2533) เป็นพระราชบัญญัติที่กล่าวถึงการจัดตั้งกองทุนประกันสังคม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (พ.ศ. 2541) กฏหมายเป็น
กติกาของสังคมที่สมาชิกทุกคนต้องรับทราบและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
-
ลักษณะขององค์การลูกจ้าง
- สหภาพแรงงาน หมายถึง องค์การของลูกจ้างที่ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะคุ้มครองสิทธิและผผลประโยชน์ของตน
- สหพันธ์แรงงาน หมายถึง องค์การที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันระหว่างสหภาพแรงงานที่มีสมาชิกเป็นลูกจ้างของนายจ้างเดียวกัน
- สภาองค์การลูกจ้าง หมายถึง องค์การที่เกิดจากการรวมตัวกันของสหภาพและ /หรือ สหพันธ์แรงงานเพื่อกระทำกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกันในระดับมหภาค
ระดับของแรงงานสัมพันธ์
- สมาคมนายจ้าง หมายถึง องค์การระดับพื้นฐานของนายจ้างทีทมีกิจการในลักษณะเดียวกันรวมตัวจัดขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ที่พึงได้ของตน
- สหพันธ์นายจ้าง หมายถึง องค์การที่เกิดขึ้นจากการรวมของสมาคมนายจ้างที่มีสมาชิกประกอบกิจการในลักษณะเดียวกันตั้งแต่สองสมาคมขึ้นไป
- สภาองค์การนายจ้าง หมายถึง องค์การที่เกิดจากการรวมตัวของสมาคมหรือสหพันธ์นายจ้างตั้งแต่ 5 องค์การขึ้นไป เพื่อส่งเสริมกิจกรรมแรงงานสัมพันธ์ในระดับมหภาค
คือ
ความเกี่ยงข้องและการปฏิบัติต่อกัน ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในการทำงานซึ่งมีผลกระทบต่อการบริการ การผลิต การทำงาน ความเป็นอยู่ของลูกจ้างตลอดจนภาวะเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ