Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (Necrotizing Enterocolitis; NEC) :pencil2:…
โรคภาวะลำไส้เน่าอักเสบ (Necrotizing Enterocolitis; NEC) :pencil2:
พยาธิสภาพ
พยาธิภาพ
เมื่อมีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดหรือการคลอดล่าช้า ทำให้มีภาวะขาดออกซิเจน เลือดจากส่วนต่างๆ ของร่างกายจะไหลลัดไปยังอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ สมอง เป็นต้น ทำให้มีภาวะขาดเลือดที่ลำไส้ หากมีความรุนแรงน้อยอาจมีเพียงอาการท้องอืด อาจตรวจพบเลือดในอุจจาระ (Occult Blood) หากมีความรุนแรงมากขึ้นอาจถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด มีแผลบริเวณลำไส้ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่เยื่อบุชั้นในและกล้ามเนื้อของลำไส้และอาจทำให้ลำไส้ทะลุ
ความหมาย
ความหมาย เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการขาดเลือด มักเป็นที่ลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ในทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อย และเป็นสาเหตุการตายและทุพลภาพของทารกแรกเกิดได้มาก
อาการ
อาการเฉพาะที่เกิดจากลำไส้เน่าอักเสบ ได้แก่
-ท้องอืด
-ถ่ายอุจาระเหลว
-อาเจียนเป็นสีน้ำดี
-มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
-มีอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
-อาจมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ซึม ดูดนมไม่ดี
ตัวเหลือง
ร้องกวน
อุณหภูมิกายต่ำ
หยุดหายใจ
หัวใจเต้นช้า
มีภาวะกรดเกิน โซเดียมต่ำ ออกซิเจนต่ำ
การตวจวินิจฉัย
1.การตวจร่างการ
-ท้องอืด
-ลำลัก
-อาเจียนมีนำ้ดีปน
-ถ่ายอุจาระมีเลือดปน
-ซึม
-หยุดหายใจหายใจช้า
-ความดันต่ำ
-เห็นรอยของลำไส้โป่งพองที่หน้าทอง
3.การถ่ายภาพรังสี
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เช่นCBC, Urinalysis และ stool examination การตรวจพิเศษอื่นๆการตรวจหาระดับของ serum amylase หรือ urine amylase
การตรวจหาระดับของ thyroid hormone และ thyroid stimulating hormone
สาเหตุ
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่นอน แต่สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากภาวะขาดออกซิเจนในระยะก่อนคลอดจนถึงระยะแรกเกิด การติดเชื้อแบคทีเรียในลำไส้และการเพิ่มปริมาณนมมากและเร็วเกินไป หรือการใช้นมที่มีความเข้มข้นสูง
การรักษา
งดอาหารและน้ำทางปาก
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
หากหยุดหายใจต้องให้ออกซิเจนหรือเครื่องช่วยหายใจ
หากมีอาการท้องอืดให้ดูดอาหารออกทางสายสวนกระเพาะอาหารทางจมูก
ให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดให้เพียงพอ
อาจต้องทำผ่าตัดเมื่อมีลำไส้ทะลุ
การพยาบาล
คาสาย OG-tube เปิดปลายสายต่อลงถุง เพื่อระบายลมและ content ลดอาการท้องอืด
ดูด content ทุก 3 ชม. ประเมินลักษณะ สีและปริมาณของ content
ประเมินอาการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น ซึมลง มีไข้-หนาวสั่น รับนมไม่ได้ ท้องอืดมากขึ้น V/S ผิดปกติ
รายงานแพทย์เวรรับทราบทันที
ดูแลให้งดน้ าและนมนาน 14 วันตามแผนการรักษา
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
สังเกตอาการของความสามารถในการรับนมของทารกลดลง (Feeding intolerance) เช่น Bowd
sound ลดลง Gastric content มีมาก ท้องอืด ส ารอกนมบ่อย รายงานให้แพทย์ทราบ
และหาสาเหตุต่อไป
ดูแลให้ทารกได้รับยา Ampicillin 60 mg vein ทุก 12 hr, Gengamycin 6 mg vein ทุก 12 hr
ส่งเสริมและให้ก าลังใจแก่มารดาในการบีบนม เพื่อให้ทารกได้รับนมมารดาทางสายยางอย่างต่อเนื่อง
เพราะน้ านมมารดามีภูมิคุ้มกันโรคและละความรุนแรงของโรค Necrotizing enterocolitis
บันทึกสัญญาณและความอิ่มตัวของออกซิเจนชีพทุก 1 ชม.
ชั่งน้ าหนักทุกวัน ใน น้ าหนักของทารกจะเพิ่มขึ้นวันละประมาณ 20 – 30 กรัม