Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเงินฝืด (นโยบายการเงินในการแก้ปัญหา (การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดห…
ภาวะเงินฝืด
นโยบายการเงินในการแก้ปัญหา
การขอร้องไปยังธนาคารพาณิชย์
ขอความร่วมมือให้ลดความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ
การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดหรืออัตราธนาคาร
เพิ่มการหมุนเวียนปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
การกู้ยืมของธนาคารพาณิชย์ลดต่ำลง
การเพิ่มอัตราเงินสดสำรอง
ธนาคารกลางประกาศลดอัตราเงินสดสำรอง
ส่งเสริมให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อเข้าระบบเศรษฐกิจมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงอัตราการให้กู้ยืมหรือสินเชื่อเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์
ประกาศลด margin requirement
ให้ธนาคารพาณิชย์เร่งการปล่อยสินเชื่อ
เปิดตลาดซื้อขายพันธบัตร
ธนาคารกลางประกาศซื้อพันธบัตรกลับคืน
เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
ลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ
สาเหตุที่ก่อให้เกิด
สถาบันการเงินต่างๆ
ชะลอการปล่อยสินเชื่อให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืม
ทำให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจไม่เพียงพอ
ประเทศขาดดุลอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ทำให้ต้องสูญเสียเงินให้ต่างประเทศ
ทำให้ปริมาณเงินหมุนเวียนน้อยลง
ธนาคารกำหนดนโยบายการเงินเข้มงวดเกินไป
ประกาศเพิ่มอัตราเงินสดสำรอง
ประกาศใช้นโยบายควบคุมการปล่อยสินเชื่อ
ทำให้ปริมาณเงินลดน้อยลง
นโยบายงบประมาณรายจ่าย
เงินในระบบเศรษฐกิจลดลง
ธนาคารกลาง
พิมพ์ธนบัตรออกมาน้อยเกินไปไม่เพียงพอต่อความต้องการ
นโยบายภาษีของรัฐบาล
มีการเก็บภาษีในอัตราสูง
เงินในระบบเศรษฐกิจลดลง
ผลกระทบ
การชะลอการลงทุน
การผลิตลดลง
การจ้างงานลดลง
เกิดปัญหาว่างงาน
ความต้องการถือเงิน
ความต้องการถือเงินลดลง
ราคาสินค้าบริการลดลงต่อเนื่อง
ประชาชนรายได้ลดลง
เศรษฐกิจซบเซา
ประชาชนไม่มีกำลังซื้อ
รูปแบบ
ภาวะเงินฝืดระดับอ่อน
ราคาสินค้าบริการลดลงอย่างต่อเนื่อง
ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี
เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจขยายตัว
ภาวะเงินฝืดระดับรุนแรง
ราคาลดลงต่อเนื่องถึงระดับเกินร้อยละ 20 ต่อปี
เกิดภาวะการว่างงานมาก
รายได้ประชาชนลดลง
ส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจอย่างรุนแรง
ภาวะเงินฝืดระดับปานกลาง
เป็นผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ
ราคาลดลงเกินร้อยละ 5 แต่ต่ำกว่าร้อยละ 20 ต่อปี
มีการปลดพนักงานออก
รายได้ประชาชนลดลง
กำลังซื้อลดลง
มาตรการการคลัง
เพิ่มการใช้จ่ายของภาครัฐ
รัฐอาจกำหนดโครงการต่างๆเพื่อกระตุ้นการใช้จ่าย
การก่อสร้างสาธารณูปโภค
การจ้างงานในชนบท
ลดอัตราภาษีอากร
ลดอัตราภาษีทางอ้อม
กระตุ้นให้ประชาชนมีการใช้จ่ายในการบริโภคมากขึ้น