Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิตด้านความคิดและการรับรู้ (โรคจิตเภท…
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิตด้านความคิดและการรับรู้
โรคสมองเสื่อม
Dementia
เกิดจากการเสื่อมของสมอง ค่อยเป็นค่อยไป เป็นอย่างถาวร รักษาไม่หาย
อาการ
เสื่อมด้านความจำ
มีอาการอย่างน้อย 1
Aphasia พูดชื่อสิ่งของไม่ได้
Apraxia ทำตามบอกไม่ได้
Agnosia ระบุสิ่งของไม่ได้
Executive Function เสียไป
Cognitive deficit เกิดผลเสียด้านสังคมและการงาน
Deterioration of intellectual function
deterioration of habits
emotional lability
การรักษา
ยา
Supportive care
ด้านจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัว
การพยาบาล
ปัญหาความบกพร่องด้านความจำ
ใช้สิ่งแวดล้อมกระตุ้นความจำ
ส่งเสริมการระลึกความจำที่ดี
ฝึกการทำงานของสมอง Cognitive tasks
ยอมรับอาการหลงลืมของผู้ป่วย
ปัญหาความบกพร่องด้านการสื่อสาร
อดทน นุ่มนวล
สังเกตอวัจนภาษา
ดนตรีบำบัด
สอนทักษะการสื่อสารกับผู้ดูแล
ปัญหาบกพร่องด้านการทำกิจวัตรประจำวัน
รวบรวมข้อมูล(ประเมิน)
วางแผนกิจกรรมกับผู้ดูแล
ช่วยเหลือในการทำกิจวัตร
ฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำด้วยตนเอง
ส่งเสริมแรงทางบวก
คงสมดุลและความแข็งแรงร่างกาย
ดูแลสุขภาพอนามัย
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงอารมณ์และพฤติกรรม
ประเมินความเสี่ยง
เฝ้าระวัง
ลดสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้ผู้ดูแล
ปัญหาการนอนหลับ
หาสาเหตุ
จัดสิ่งแวดล้อม
ฝึกการเข้านอน-ตื่นนอนให้ตรงเวลา
เพิ่มกิจกรรมช่วงกลางวัน
เลี่ยงคาเฟอีน
Aromatherapy
ยาตามความจำเป็น
โรคจิตเภท
Delusion
หลงผิด
มีความคิดในรูปแบบต่างๆที่ไม่เป็นจริง
ทำให้เกิดปัญหาในการใช้ชีวิต
นำผู้ป่วยเข้าสู่โลกความจริง
Paranoid
หวาดระแวง
สงสัย ระวังตัวเป็นพิเศษ ไม่ไว้ใจใคร ไม่เป็นมิตร
ปรับตัวได้
Hallucination
ถอยหนี
สัมผัสในสิ่งที่ไม่มี
Present Reality
Illusion
แปลภาพผิด
การตีความผิดจากความจริง
Present Reality
Withdrawal
ถอยหนี
หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อึดอัด ถอยหนี อยู่คนเดียว
ใช้กลไกทางจิตแบบถดถอย Regression
สร้างสัมพันธภาพได้
สับสนเฉียบพลัน
Delirium
เกิดจากสมองเสียหน้าที่ Disorientation เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและชั่วคราว สามารถรักษาให้หายได้
อาการและอาการแสดง
ด้านสติสัมปชัญญะและการรู้ตัว
รับรู้สิ่งแวดล้อมไม่ดี
ความผิดปกติในด้านความสามารถในการสนใจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เชาว์ปัญญา Cognition
การรับรู้ Perception
Hallucination
Illution
Thinking
ไม่มีเหตุผล
ความจำ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
การนอน
ไม่ยอมนอน
นอนไม่หลับ
หลับๆตื่นๆ
ประเภท
Delirium due to general
medical condition
อาการ
-สับสน
-ความสนใจสั้น
-รับรู้เวลาไม่ดี
-การรับรู้สิ่งแวดล้อมไม่ดี
Substance induce Delirium
Delirium due to multiple ethiologies
เกิดจาก
-ยา
-สมองกระทบกระเทือน
-สุราเรื้อรัง
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากมีการรับรู้ผิิดปกติ
บกพร่องในการดูแลตนเองเนื่องจากมีอาการสับสน วุ่นวาย
นอนหลับไม่เพียงพอเนื่องจากประสาทหลอนและแปลภาพผิด
อาจเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากควบคุมอารมณ์ไม่ได้จากการเสียหน้าที่สมอง
ไม่สามารถสื่อสารความต้องการตนเองได้
ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันบกพร่อง
ตื่นตระหนก หวากลัว
กิจกรรมทางสังคมปกพร่อง
สูญเสียความสามารถในการจัดการปัญหา
ปริมาณน้ำและอาหารไม่เพียงพอ
การเคลื่อนไหวไม่มั่นคง
หลักการพยาบาล
ดำรงความสมดุลของร่างกาย: ป้องกันภาวะแทรกซ้อน/อันตรายจากประสาทหลอน
การจัดสิ่งแวดล้อม: สงบ แสงเพียงพอ ผู้ดูแลคนเดิม
การป้องกัน: Fall อุบัติเหตุ สูญหาย
Dementia of the Alzheimer's Type
อาการ
เดินเรื่อยเปื่อย
พฤติกรรมซ้ำๆ
รื้อค้นของ
ซ่อนของ
ฉุนเฉียว
พฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม
Aphasia
Apraxia
Agnosia
Memonic disturbance
ระยะของโรค
ระยะแรก 2-4 yr อาการไม่รุนแรง สูญเสียความจำเล็กน้อย
-หลงลืมปัจจุบัน จำอดีตได้
-บกพร่องการเรียนรู้สิ่ใหม่
-ขาดสมาธิ
-ร่างกายไม่สะอาด
-กล่าวโทษผู้อื่น
-ซึมเศร้า
ระยะที่สอง อาการรุนแรงขึ้น
-Paraphasis (พูดไม่ได้ใจความ)
-Visual agnosia (จำสิ่งของไม่ได้)
-เครียด ก้าวร้าว รุนแรง
-ความจำในอดีตเสื่อม
-มีปัญหาด้านอารมณ์ การนอน การขับถ่าย
ระยะที่สาม เสียชีวิตไม่เกิน 1 yr
-ร่างกายและสติปัญญาเสื่อมถอยมาก
-ติดเชื้อได้ง่าย
ข้อวินิจฉัย
ไม่สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจความต้องการของตนได้
ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันบกพร่อง
เสื่องอุบัติเหตุ
ตื่นตระหนก หวาดกลัวเนื่องจากมีอาการประสาทหลอน
กิจกรรมทางสังคมบกพร่อง
สูญเสียความสามารถในการจัดการปัญหา
ได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอ
การพยาบาล
แก้ไข ทดแทนส่วนที่บกพร่อง
ลดกิจกรรม สิ่งเร้า ความเครียด
ดำรงสิ่งที่ยังไม่บกพร่อง
ช่วยเหลือครอบบครัว