Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนรู้แบบผสมผสาน ด้วยเทคโนโลยีความจริงเพิ่มเติม Blended Learning…
การเรียนรู้แบบผสมผสาน ด้วยเทคโนโลยีความจริงเพิ่มเติม Blended Learning Using Augmented Reality
จุดประสงค์ งานวิจัย
เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็นสําคัญ
เพื่อนําเสนอ การเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยเทคโนโลยีความจริงเพิ่มเติม
เครื่องมือในการวิจัย
คอมพิวเตอร์
ใช้สื่อ AR
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้
แบบทดสอบ
วิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
การเตรียมความพร้อม
วิเคราะห์รายวิชา และเนื้อหา เพื่อกําหนดจุดมุ่งหมาย
วิเคราะห์ผู้เรียน ด้านความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นพื้นฐานสําคัญในการเรียนรู้แบบผสมผสาน
วิเคราะห์ปัจจัยที่สนับสนุนการเรียนการสอน เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่าย
การเตรียมการก่อนการเรียนการสอน
ทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ของผู้เรียนในรายวิชาที่สอน
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ประเมินหลังกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วย โดยใช้แบบทดสอบ
ประเมินระหว่างดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้โดยการประเมินผลตามสภาพจริง พิจารณาจากผลงานและกระบวนการทํางานพฤติกรรมของผู้เรียน ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การอภิปรายร่วมกัน
กระบวนการเรียนการสอน
เมื่อผู้เรียนเข้าชั้นเรียน ผู้สอนจะตั้งคําถามให้ตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้เบื้องต้นของผู้เรียน หรือตรวจสอบว่าผู้เรียนได้เข้าเรียนในระบบออนไลน์แล้ว เป็นคําถาม “อะไร” และบันทึกเป็นคะแนนเก็บของผู้เรียน (Face-to-face
แนวคิดทฤษฏีที่นำมาใช้ในกระบวนการวิจัย
Singh
ให้นิยามของการเรียนแบบผสมผสานไว้ว่า เป็นเรียนโดยใช้การผสมผสานวิธีสอนที่หลากหลายเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสุด
Bonk and Graham
ที่กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเป็นการผสมผสานทฤษฎีการเรียนรู้เข้าด้วยกันเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้
Uwes
กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเป็นการบูรณาการการเรียนแบบเผชิญหน้า การเรียนด้วยตนเอง และการเรียนแบบร่วมมือแบบออนไลน์เข้าด้วยกัน
Bersin
กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมในองค์กร เป็นการผสมผสานการเรียนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ในการส่งผ่านความรู้ในการเรียนและการฝึกอบรม
สรุปผลที่ได้จากการวิจัย
ช่วยเพิ่มความสนใจในการเรียน สร้างแรงบันดาลใจและจุดประกายให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้เรียนที่สนใจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อได้สัมผัสกับเทคโนโลยีความจริงเพิ่มเติม
ผู้เรียนกิดจินตนาการ นําไปคิดต่อยอด พัฒนาและสร้างสรรค์เทคโนโลยีความจริงเพิ่มเติม สําหรับการใช้งานในด้านอื่น ๆ ต่อไป