Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการทารกในครรภ์ : (ไตรมาสที่ 1 …
การส่งเสริมสุขภาพ
และพัฒนาการทารกในครรภ์
:
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตต่อทารกในครรภ์
ด้านบุคคล
โรคทางพันธุกรรม
Thalassemia
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD
การถ่ายทอดพันธุกรรมด้านสติปัญญา
อายุครรภ์
จำนวนครั้งของการคลอด
ระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์
ด้านสิ่งแวดล้อม
การใช้ยา
Vitamin A (Retinol) สมองพิการผิดรูป
Tetracyclin มีผลต่อการสร้างกระดูกและฟัน
Norflox, olfloxcaclin มีผลของการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาการ
Chloroquine Quinine อาจทำให้แท้งบุตร
Streptomycin อาจทำทารกหูตึงหรือหูหนวก
Thalidomide อาจทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะแขนขาด้วน
สารเสพติด
Nicotine
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
สติปัญญาต่ำ
Amphetamine
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แอลกอฮอล์
Fetal alcohol syndrome (FAS)
ไตรมาสที่ 2
ส่งเสริมภาวะโภชนาการ
การออกกำลังกาย
ส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์
การจัดการกับความเครียด
อายุครรภ์ 4-6 เดือน
ไตรมาสที่ 1
รักษาความสะอาดของร่างกายและการดูแลปากและฟัน
การป้องกันการติดเชื้อ
ทำงานได้ตามปกติ
เปลี่ยนอิริยาบททุกๆ 2 ชม
หลีกเลี่ยงปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างอวัยวะและการเจริญเติบโตของทารกครรภ์ มาฝากครรภ์
อายุครรภ์ 1-3 เดือน
ไตรมาสที่ 3
สังเกตอาการผิดปกติ
อาการนำก่อนคลอด
เตรียมตัวสำหรับมาคลอด
อายุครรภ์ 7-9 เดือน
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ประโยชน์การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา
เพิ่มประสิทธิภาพการได้ยิน รับความรู้สึก เคลื่อนไหว การมองเห็น
ลดความวิตกกังวลของมารดา และความเครียด
ทารกผ่อนคลาย อารมณ์ดี ไม่กวนหลังคลอด ทารกรู้สึกอบอุ่น มั่นคง
สร้างความผูกพันของบิดา มารดา และทารก
กระตุ้นการได้ยิน
การใช้เสียงดนตรี
การใช้เสียงพูดคุยมารดา
อายุครรภ์ 24 ถึง 26 สัปดาห์ขึ้นไป
การกระตุ้นการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
อายุครรภ์ 20 สัปดาห์
การสัมผัส
การลูบหน้าท้อง
นั่งเก้าอี้โยก
การกระตุ้นการมองเห็น
อายุครรภ์มากกว่า 24 สัปดาห์
การส่องไฟเล่นกับลูก
บทบาทของพยาบาล
การให้คำปรึกษาคำแนะนำ
กระตุ้นให้บิดามารดาให้ความสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของทารก
สอนเกี่ยวกับวิธีการกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
วางแผนการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ