Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PROM (Premature Rupture of Membranes) (ปัจจัยเสี่ยง (มารดาได้รับอุบัติเหตุ…
PROM (Premature Rupture of Membranes)
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนที่มีอาการเจ็บครรภ์จริง(เจ็บครรภ์สม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 10 นาทีและมีการเปิดขยายของปากมดลูก) และอายุครรภ์ครบกำหนด (มากกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์โดยคำนวณจากประวัติ วันแรกของประจำเดือนที่ปกติครั้งสุดท้าย)
น้ำคร่ำน้อยลง
สายสะดือพลัดต่ำ
ศีรษะทารกเคลื่อนลงมากดสายสะดือ
Umbilical cord prolapse
สาเหตุ
มีการขัดขวางการเคลื่อนต่ำลงของส่วนนำของทารกไม่ให้กระชับกับส่วนล่างของมดลูก
ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนำของทารกกับช่องเชิงกรานและทารกไม่ครบกำหนด
ถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่ช่องเชิงกราน
ความผิดปกติอื่นๆ ของรก
ปัจจัยด้านลูก
ส่วนนำผิดปกติ
ท่าก้น ท่าขวางหรือเฉียง หรือท่าที่ไม่เสถียร
ทารกน้ำหนักน้อย
คลอดก่อนกำหนด
ครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดน้ำ
สายสะดือยาวผิดปกติ
ปัจจัยด้านแม่
มีการตั้งครรภ์หลายครั้ง
อุ้งเชิงกรานผิดปกติ
ชนิดของสายสะดือย้อย
Overt prolapsed cord
Forelying cord / Funic presentation
Occult prolapsed cord
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับหัตถการ
การแตกของถุงน้ำขณะที่ส่วนนำยังไม่กระชับกับเชิงกราน
การทำ amnioinfusion หรือการใส่สายวัดความดันในโพรงมดลูก
การหมุนกลับท่าเด็กทางหน้าท้อง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ตรวจภายในคลำพบสายสะดือ อาจจะได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ(pulsating cord)ตรวจภายในคลำพบสายสะดือ อาจจะได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ(pulsating cord)
ตรวจภายในคลำพบสายสะดือ อาจจะได้ชีพจรเต้นเป็นจังหวะ(pulsating cord)
สายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ (ช้าลง) โดยเฉพาะหลังการแตกของถุงน้ำคร่ำ
อาจพบ early DC ใน occult UCP
การวินิจฉัยแยกโรค
ต้องแยกกับภาวะที่ทำให้หัวใจทารกเต้นช้าลง เช่น มารดามีความดันโลหิตต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก หรือ vasa previa เป็นต้น
อาการแสดง
ตรวจภายในคลำพบสายสะดือ
สายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
ถุงน้ำคร่ำแตกและตรวจพบเสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ต่อมารดา
การติดเชื้อโดยเฉพาะการติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ (Chorioamnionitis)
คลอดก่อนกำหนด
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ผลต่อทารก
การติดเชื้อ
การเกิดภาวะหายใจล้มเหลว(Respiratory Distress syndrome)
เกิดภาวะขาดออกซิเจน(Fetal distress Syndrome)
Oligohydramnios อาจทำให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
การรักษา
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
สอดมือเข้าไปในช่องคลอดแล้วดันส่วนนำไว้ไม่ให้เคลื่อนลงมากดสายสะดือ (funic decompression)
ให้ออกซิเจน (100%) แก่มารดาอาจจะทำให้ทารกได้รับออกซิเจนมากขึ้น
ให้สายสะดือย้อยอยู่ในช่องคลอด ซึ่งอุ่นและไม่แห้ง ทำให้ลด vasospasm ได้
จัดท่ามารดาให้อยู่ในท่าที่ช่วยป้องกันส่วนนำไม่ให้ลงมากดสายสะดือ ให้ก้นสูง โดยใช้หมอนรองก้นให้สูงขึ้น
Trendelenburg
knee-chest
Sim's position
ไม่ควรดันสายสะดือกลับเข้าไปในโพรงมดลูก
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง (bladder filling)
ใส่น้ำเกลือ 500-700 มล. ทางสายสวน ปัสสาวะ
การช่วยเหลือการคลอด
ผ่าตัดคลอด
ยกเว้น
2 more items...
ทารกมีชีวิตอยู่ปากมดลูกเปิดหมด ศีรษะเด็กลงมาต่ำ ใช้คีมช่วยคลอด
ศีรษะทารกอยู่สูงและอยู่ในทาขวางให้เปลี่ยนให้อยู่ในทาก้นและช่วยคลอดด้วยวิธี Breech extraction
ใช้เครื่องดึงสุญญากาศ ในรายที่เป็นครรภ์หลังปากมดลูกเปิดเกือบเต็มที่แล้ว
Internal version และ breech extraction ทำได้เมือปากมดลูกเปิดหมด ทารกอยู่ในท่าขวาง ไม่มีภาวะผิดสัดส่วนของทารกกับเชิงกราน
ครรภ์หลังๆ ที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 ซม. ขึ้นไป ที่เป็น Forlying cord ท่าของทารกปกติ มีความก้าวหน้าของการคลอดเร็ว ทารกไม่มีภาวะ fetal distress ก็พยายามไม่ให้ถุงน้ำแตก อาจจะรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอดครรภ์
ครรภ์หลังๆ ที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 ซม. ขึ้นไป ที่เป็น Forlying cord ท่าของทารกปกติ มีความก้าวหน้าของการคลอดเร็ว ทารกไม่มีภาวะ fetal distress ก็พยายามไม่ให้ถุงน้ำแตก อาจจะรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มารดามีความวิตกกังวล กลัวว่าตนเองและบุตรจะมีอันตรายจากภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
เปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึก
อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงเหตุผล การช่วยเหลือและวิธีการทำคลอด
อธิบายถึงอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นในขณะทำคลอด
บอกให้มารดาทราบล่วงหน้าทุกครั้งก่อนให้การพยาบาล
ให้การพยาบาลด้วยความสนใจ นุ่มนวลมั่นใจ
มารดามีภาวะไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
O : Uterine contraction 2 ครั้ง/10 นาที Duration 40 วินาที
สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการ
อธิบายให้ทราบถึงกลไกการคลอด การเจ็บครรภ์
ดูแลให้นอนตะแคงซ้ายหรืออยู่ในท่านั่งเพื่อให้เลือดไหลเวียนไปสู่มดลูกได้ดี
แนะนำวิธีการผ่อนคลายความเจ็บปวด
ดูแลใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหน้าให้เพื่อให้ผู้รับบริการสุขสบาย
ทารกในครรภ์มีโอกาศเกิดภาวะ Fetal distress เนื่องจากมีภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
O : พบ MR น้ำคร่ำสีเขียวปนเหลือง (thick meconium) ,PV พบก้อนนุ่มบริเวณปากช่องคลอด คลำชีพจรได้
1.จัดให้ผู้คลอดอยู่ในท่าเข่าชิดอก
2.ตรวจภายในโดยใช้เทคนิดปราศจากเชื้อและใช้มือดันส่วนนำซึ่งจะกดสายสะดือตั้งแต่เมื่อตรวจพบสายสะดือพลัดต่ำไปจนส่งผู้คลอดเข้าห้องผ่าตัด
3.ให้ออกซิเจน 8-10 Lpm ผ่าน Facemask
4.ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
5.รายงานแพทย์เพื่อทำการผ่าตัด
อุบัติการณ์
พบได้ร้อยละ 0.1-0.6 แต่ในรายตั้งครรภ์ท่าก้นพบว่าโอกาสเกิดสายสะดือย้อยสูงกว่าร้อยละ 1 และมีรายงานว่าจะพบมากขึ้นในทารกเพศชาย ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จากสถิติในปี 2534-2554 พบเพียงร้อยละ 0.6(1)
(สถิติประจำปี Maternal-fetal medicine. หน่วยเวชศาสตร์มารดาและทารก ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2534- 2554.)
หน้าที่น้ำคร่ำ
เกราะป้องกันอันตรายทารก
ป้องกันแรงกระทบกระเทือนที่มีต่อทารก
ช่วยรักษาอุณหภูมิของทารกให้คงที่และพอเหมาะ
ช่วยทารกเคลื่อนไปมาได้ขณะอยู่ในครรภ์
ช่วยลดการกดทับของสายสะดือจากตัวทารกเอง
ปัจจัยเสี่ยง
มารดาได้รับอุบัติเหตุ
มดลูกมีการขยายมากเกินไป เช่น การตั้งครรภ์แฝด หรือมีเนื้องอกมดลูก
มีประวัติการคลอดก่อนกำหนด
มีการติดเชื้อในช่องคลอด
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
สูบบุหรี่
เศรษฐานะต่ำ การดูแลสุขภาพช่วงตั้งครรภ์ไม่ดีพอ
สตรีตั้งครรภ์ที่มีรูปร่างผอม
ภาวะแทรกซ้อน
ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
หลอดเลือดสายสะดือฉีกขาด ทำให้มารดาเสียเลือดในการคลอดมากขึ้น รวมทั้งการเสียเลือดมากขึ้นของทารก ซึ่งส่งผลถึงสัญญาณชีพของทารกได้
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ปอดทารกไม่ขยาย ทารกจึงมีโอกาสมีปัญหาทางการหายใจ และ/หรือปอดติดเชื้อได้ง่ายภายหลังคลอด
มารดามีโอกาสถูกผ่าท้องคลอด (การผ่าท้องคลอดบุตร) มากขึ้น
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
Cough test
ซักประวัติ เช่น ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆ ไหลจากช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fern test
Nitrazine paper test
Nile blue test
Indigocarmine
Ultrasonography
การรักษา
อายุครรภ์ครบกำหนด
ประเมินว่ามีสายสะดือย้อย
ประเมินสภาพปากมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูก
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์
ให้ยาปฏิชีวนะ
อายุครรภ์ไม่ครบกำหนด
มีการติดเชื้อในครรภ์
ให้นอนพักสังเกตอาการ
ตรวจเลือด,ปัสสาวะ
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาปฏิชีวนะ
ไม่มีการติดเชื้อในครรภ์
ข้อวินิจฉัย
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูก เนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตก
หลีกเลี่ยงการตรวจทางช่องคลอด ถ้าจำเป็นต้องตรวจควรระมัดระวังเกี่ยวกับเทคนิคปราศจากเชื้อ
ติดตามผลการตรวจเลือด CBC และ UA ตามแผนการรักษาเพื่อประเมินภาวะการติดเชื้อในร่างกาย
แนะนำให้ใส่ผ้าอนามัย และดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ สังเกตลักษณะ สี กลิ่นของน้ำคร่ำ
ดูแลให้นอนพักผ่อนบนเตียง
กิจกรรมของการพยาบาล
S : ผู้รับบริการบอกวามีน้ำใสๆ ไหลออกจากช่องคลอดประมาณ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
O : ผลการทำ cough test = +ve ,PV Cx 3 cms ,Effectment 100 % ,Station -2 , Membrane rupture