Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์ (การวินิจฉัยโรค (Special test (EKG, Chest X-ray,…
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคหัวใจ
1.เมื่อปริมาณเลือดที่บีบออกมาจากหัวใจเพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ จะทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น มีผลทำให้เกิดหัวใจวายได้ทุกระยะของการตั้งครรภ์
2.ทำให้ความรุนแรงของโรคหัวใจเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลง
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบขึ้นกับชนิดและความรุนแรงของโรคหัวใจ โรคหัวใจที่ทำให้ออกซิเจนต่ำ การไหลเวียนเลือดไปสู่รกไม่ดี เป็นผลให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนเรื้อรัง เกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกตายในครรภ์ หรือทารกมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติได้
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
อดีตและปัจจุบัน
การมีภาวะ cyanosis อาการไอ บวม กดบุ๋ม
ระดับความทนต่อการทำกิจกรรมทางกาย
การตรวจร่างกาย
ฟังเสียงปอดและหัวใจ พบความผิดปกติ
สัญญาณชีพ
อาการบวม กดบุ๋ม
ดูการโป่งพองบริเวณ neck vein
ประเมิน capillary filling time
Laboratory
Cardiac enzyme
CBC
Special test
EKG
Chest X-ray
Echocardiogram
Magnetic resonance imaging
Pulmonary artery catheterization
Cardiac catheterization
Radionuclide studies
Exercise tolerance test
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
นิยมจำแนกตาม New York Heart Association ซึ่งจำแนกตามอาการของผู้ป่วยดังนี้
Class I Uncompromised : ทำงานได้ตามปกติโดยไม่รู้สึกเหนื่อย
Class II Slightly compromised : สบายดีขณะพักแต่ถ้าทำงานตามปกติจะรู้สึกเหนื่อย
Class III Markedly compromised : สบายดีขณะพักแต่ถ้าทำงานเล็กน้อยก็จะรู้สึกเหนื่อย
Class IV Severely compromised : มีอาการของโรคหัวใจคือหอบเหนื่อยแม้ขณะพัก
อาการ
หัวใจห้องซ้ายล้มเหลว
ปอดบวมน้ำ
มีอาการอ่อนเพลีย
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หายใจลำบาก
หัวใจเต้นเร็ว
นอนราบไม่ได้
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู
เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
หัวใจห้องขวาล้มเหลว
มีอาการเบื่ออาหาร
อาเจียน
ปลายมือปลายเท้าเย็น
ปัสสาวะออกน้อยและปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
ตรวจพบตับโตกดเจ็บ
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
ส่งเสริมการพักผ่อน
พักผ่อนอย่างเต็มที่ อาจต้องหยุดทํางาน ตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
นอนตะแคงหรือนอนศีรษะสูง หลีกเลี่ยงการนอนหงาย
จํากัดการทํากิจกรรม บางราย Complete bed rest (GA~ 30-36 wks)
ส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ควบคุมน้ําหนักไม่ให้เพิ่มมากเกินไป
ให้ธาตุเหล็กเสริม เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง
ให้ folic acid & vitamin C เพื่อส่งเสริมการดูดซึม ธาตุเหล็ก
ไม่จําเป็นต้องจํากัดเกลือ ยกเว้นในรายที่รุนแรง
การมาฝากครรภ์ตามนัด
ป้องกันการติดเชื้อ ( URI & UTI ) หากมีอาการ การติดเชื้อควรมาพบแพทย์โดยเร็ว
ช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
แนะนำวิธีนับการดิ้นของทารกในครรภ์
การพยาบาลในระยะหลังคลอด
14.แนะนำวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
14.1ไม่ควรรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม และห่วงอนามัย
14.2มารดาที่มีโรคหัวใจ class lll-lVควรทำหมัน แต่ไม่ควรทำในระยะหลังคลอดทันที ควรรอให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงาน ได้ดีขึ้นก่อน หรือ แนะนำให้สามีทำหมัน
1.จัดให้นอนในท่าศีรษะสูง
2.เฝ้าระวัง congestive heart failure ในระยะหลังคลอดทันที ตรวจสอบการทำงานของหัวใจ ด้วยเครื่อง cardiac monitor
3.ประเมิน vital signs ทุก 15 นาที,intake/output
4.ป้องกันภาวะ postpartum hemorrhage
4.1ดูแลให้ oxytocin ตามแผนการรักษา
4.2หลีกเลี่ยงการให้ยาประเภท ergot
4.3ประเมิน it. Contraction, ut.massage
4.4กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ
4.5ประเมิน vaginal tear &hematoma
5.ป้องกันการเกิด thromboembolism
5.1กระตุ้นให้มี early ambulation
5.2การออกกำลังการ :kegel’exercise ได้ แต่ประเภทอื่นให้พิจารณาตามอาการ &ควรปรึกษาแพทย์
6.แนะนำให้รับประทานที่มีอาหารกากใยสูง ดื่มน้ำให้เพียงพอ
7.ดูแลให้ได้รับยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษา
8.ให้การช่วยเหลือในการดูแลทารก เพื่อให้มากดาได้พักพ่อนอย่างเต็มที่
9.ให้การบริการทารกที่ข้างเตียงมารดาเพื่อให้มารดาได้เรียนรู้วิธีการดูแลทารก
10.ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลมารดา-ทารก
11.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา ทารก และสมาชิกครอบครัว
12.งด Breastfeedingในรายที่อาการรุนแรง
13.เน้นความสำคัญของมารดามาตรวจตามนัด
สาเหตุ
Rheumatic disease
Congenital heart defect
สาเหตุอื่นๆ
Arteriosclerotic heart
disease
Hypertensive disorder
Coronary artery disease
Myocarditis
การรักษา
ยาที่ใช้ในสตรีมีครรภ์ที่มีหัวใจ
Diuretics
เฝ้าระวังภาวะที่น้ําถูกขับออกจากร่างกายมากเกินไป
ปริมาณเลือดลดลง ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
hypotension ทั้งในขณะยืนและนอนหงาย
hypokalemia โดยเฉพาะในรายที่ได้ยา digitalis ร่วมด้วย จะ ทําให้เกิด cardiac arrhythmia
เฝ้าระวัง fetal thrombocytopenia => thiazidediuretics
Digitalis
ออกฤทธิ์ทําให้หัวใจเต้นช้าลง กล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวแรงขึ้น
ยาสามารถผ่านรกและมีผลต่อทารกได้
digitalis toxicity : cardiac arrhythmia, atrialtachycardia, anorexia, nausea, vomiting, diarrhea, headache, dizziness, fatigue
Prophylactic Penicillin
เพื่อป้องกันการติดเชื้อ โดยเฉพาะ rheumatic fever
ให้ prophylactic antibiotic ทั้งในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และ ระยะหลังคลอด ในสตรีทุกรายที่มีประวัติ rheumatic heart disease
Anticoagulants
เพื่อป้องกันการสะสมของลิ่มเลือด
ยาที่นิยมให้ คือ heparin
เฝ้าระวังอุบัติเหตุ และอาการผิดปกติ เช่น มีจุดจ้ําเลือดตาม ผิวหนัง เลือดออกตามไรฟัน เลือดกําเดาไหล
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลของโรคหัวใจต่อมารดา
หัวใจวาย
แท้ง
ติดเชื่อ
น้ำท่วมปอด
คลอดก่อนกำหนด
ผลของโรคหัวใจต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกในครรภ์พร่องออกซิเจน
แท้งเอง
คลอดก่อนกำหนด
ตายในครรภ์
เกิดตาย
ภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในระหว่างตั้งครรภ์ มารดาอาจมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้เล็กน้อย ซึ่งไม่เป็นอันตราย และไม่จำเป็นต้องรักษา แต่สำหรับมารดาที่เป็นโรคหัวใจ แพทย์จะประเมินอาการและวางแผนการรักษา หากมีอาการรุนแรงก็อาจต้องรักษาด้วยการใช้ยา
หัวใจวาย
เมื่อปริมาณเลือดในร่างกายเพิ่มขึ้น หัวใจก็จะทำงานหนักขึ้นตามไปด้วย ทำให้ผู้ที่มีภาวะหัวใจวายมีอาการแย่ลงได้
กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์หรือหลังคลอด
เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ในช่วงเดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ไปจนถึง 5 เดือนหลังคลอด โดยจะมีภาวะหัวใจโตร่วมกับกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง ส่งผลให้หัวใจบีบตัวเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้น้อยลง เป็นเหตุให้อวัยวะต่าง ๆ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ทารกหัวใจพิการแต่กำเนิด
ในกรณีที่มารดามีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด ทารกที่คลอดออกมาก็อาจเสี่ยงต่อภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิดหรือคลอดก่อนกำหนดได้เช่นกัน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากการท่างานของหัวใจมากกว่าปกต
1.จัดให้นอนพักบนเตียง โดยให้นอนท่าศีรษะสูงเล็กน้อย (Semi Fowler's position) หรือ นอนตะแคงศีรษะและ ไหล่สูงเล็กน้อย
ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจรและความดันโลหิตทุก 15-30 นาที
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัว เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคหัวใจ
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินสภาพทารกในครรภ์ โดยการนับการดิ้นของทารกในครรภ์ หรือการตรวจ เช่น ฟัง เสียงการ เต้นของหัวใจทารก
ดูแลให้รับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินสูง ลดอาหารเค็มหรือให้เกลือไม่เกินวันละ 2 กรัม
ระยะคลอด
เสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวจากการท่างานของหัวใจมากกว่าปกต
1.ประเมินอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจ และความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น หายใจล่าบาก นอน ราบไม่ได้
จัดให้นอนพักบนเตียง โดยให้นอนศีรษะสูงเล็กน้อยหรือนอนตะแคงซ้าย
ช่วยเหลือในการท่ากิจกรรมบางอย่าง เช่น การเช็ดตัว ท่าความสะอาดร่างกายและอวัยวะ
5.อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และญาติ เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค
ดูแลให้ 02cannula 5 ลิตร/นาที
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ดังนี้
7.1 ตรวจทางช่องคลอดทุก 2 ชั่วโมง
7.2 บันทึกการหดรัดของมดลูกทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับ 5% DW 1000 ml + Syntocinon 10 u
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์ ฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารกทุก 1 ชั่วโมง
ให้งดอาหารและน้่าทางปาก และให้สารน้่า
แนะน่าและช่วยเหลือในการลดความเจ็บปวด เช่น นวดด้านหลังบริเวณกระเบน ใช้มือลูบหน้า
ดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะเมื่อกระเพาะปัสสาวะเต็ม
ตรวจบันทึกปริมาณน้่าที่ได้รับและขับออกจากร่างกาย เพื่อประเมินภาวะสมดุล ของสารน้่าในร่างกาย
กลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของโรคที่มีต่อตนเองและบุตร
1.อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคหัวใจ
ปลอบโยนให้ก่าลังใจแก่ผู้ป่วย และครอบครัวเพื่อคลายความกลัวและความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ซักถาม ระบายความรู้สึก
4.ช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร โดยพูดคุยถึงอาการ การรักษาพยาบาลที่บุตร ได้รับและความน่ารักของบุตรให้ผู้ป่วยฟังเพื่อช่วยให้มีก่าลังใจ ปลอบโยน และได้รับรู้เกี่ยวกับบุตรลดความ กลัวและความวิตกกังวล